Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ติว , then ตว, ติว, ตีว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ติว, 21 found, display 1-21
  1. ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
  2. ติวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่งวัตถุสามที่ควรแสวง หา ได้แก่ ธัมมะ คือ ห น้าที่ ๑ กามะ ความสุข ๑ อัตถะ ทรัพย์สมบัติ ๑ .
  3. ติวตฺต : นป. กติกา, ข้อตกลง
  4. ติวสฺส : ค. มีอายุเท่าไร?
  5. กิตฺติวณฺณ : ป., นป. การพรรณนาคุณงามความดี, การยกย่อง
  6. ทฺวิติวฏฺฏ : (วิ.) มีเกลียวสองและเกลียวสาม, มีสองเกลียวและสามเกลียว, มีสองสามเกลียว.
  7. ปณฺณตฺติวชฺช : นป. โทษอันเนื่องมาแต่พระบัญญัติ, ความผิดทางพระวินัย
  8. สมติวตฺตติ : ก. ชนะ, ก้าวข้ามไป
  9. อวีติวตฺต : ค. ไม่ล่วงเลยไป, ไม่ผ่านพ้นไป
  10. อุปาติวตฺต : กิต. ล่วงไปแล้ว, เป็นอิสระแล้ว
  11. อุปาติวตฺตติ : ก. เป็นไปล่วง, ล่วงพ้น
  12. ทิคมฺพร : (ปุ.) คนผู้มีผ้าคือทิศ, คนนุ่งทิศ, คนเปลือย, นิครนถ์. วิ. ทิสา เอว อมฺพรํ วตฺถํ, น ปกติวตฺถ เมตสฺสาติ ทิคมฺพโร. แปลง ส เป็น ค. ส. ทิคมฺพร.
  13. สภาชน : (นปุ.) การแนะนำ, ความพอใจ, ความสุภาพ, ความมีอัธยาศัย, ความเคารพ, ความสมควร, ความถูกต้อง, ความสมเหตุผล. สภาชฺ ปิติทสฺสเนสฺ ปีติวจเนสุ วา, ยุ.
  14. อลมฺพุสา : (อิต.) นางอัปสร, นางฟ้า.วิ.กามร-ติวเสนเทวปุตฺเตอตฺตนิวสาเปตุอลํสมตฺถาติอลมฺพุสา.
  15. อานุภาว : (ปุ.) การเจริญตาม, ความเจริญตาม, อานุภาวะ.ไทยอานุภาพคืออำนาจฤทธิ์เดชความยิ่งใหญ่กำลังพลังพลังใหญ่, ความสง่า.วิ.อนุตํสมงฺคินํภาเวติวฑฺ-เฒตีติ อนุภาโว. อนุภาโว เอว อานุภาโว.ส. อนุภาว.
  16. ตุวิ : อิต. ฟัก, น้ำเต้า
  17. สานฺตว : (วิ.) เกลี้ยกล่อม, ปลอบโยน, เล้าโลม.
  18. อตีว : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง, ดียิ่ง, ยิ่งนัก, เหลือเกิน, อย่างยิ่ง.
  19. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  20. ปทาตฺเว : อ. เพื่อจะให้; ในคาถาแห่งอภิณหชาตก แปลว่าเพื่อถือเอา (ป+ อา + ทา + ตฺเว)
  21. เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
  22. [1-21]

(0.0125 sec)