พุชฺฌติ : ก. รู้, เข้าใจ, รับรู้, ตื่น
อภิสมฺพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, รู้ยิ่ง, ตื่น
อวพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, เข้าใจ, ตื่น
อวโพธติ : ก. รู้แจ้ง, ตรัสรู้, ตื่น
ตส : (วิ.) หวาด, สะดุ้ง, ตกใจ, คลอนแคลน, กลับกลอก, เคลื่อนที่, เคลื่อนที่ได้, ไป. ตสฺ อุพฺเพคจลเนสุ, อ.
อุตฺราสิ อุตฺตราสี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, ตกใจ, กลัว.
อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
อุพฺพิชฺชติ : ก. ยุ่งยาก, เดือดร้อน, ตกใจ, หวาดเสียว
ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
นิทฺทกฺขย : (วิ.) สิ้นความหลับ, ตื่น.
อุสฺสงฺกี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, กลัว, ตกใจ. อุปุพฺโพ, สกิ สงฺกายํ, อี.
ชาครติ : ก. ตื่น, ระมัดระวัง, เฝ้าดู
ปฏิพุชฺฌติ : ก. ตื่น, รู้, เข้าใจ
กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
กุตูหลมงฺคล : นป. มงคลตื่นข่าว; งานรื่นเริง, พิธีกรรม
โกตุหล โกตูหล โกตูหฬ : (วิ.) แตกตื่น, ตื่นข่าว, เอิกเกริก.
โกลาหล : (วิ.) เอิกเกริก, กระฉ่อน, กึกก้อง, วุ่นวาย, เซ็งแซ่, ชุลมุน, สับสน, แตกตื่น, อลหม่าน.
ฉมฺภติ : ก. สะดุ้ง, ตกใจกลัว
ชคฺค : นป. ความตื่นตัว, การดูแล, การเอาใจใส่
ชาครณ : (นปุ.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ.
ชาคริยา : (อิต.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ. ชาครเมว ชาคริยา. ย ปัจ. อิอาคม. ส.ชาคฺริยา.
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
ตาสน : นป. การทำให้ตกใจกลัว, การเสียบประจาน
ตาเสติ : ก. ให้สะดุ้ง, ให้ตกใจแล้ว
นิโพเธติ : ก. ปลุก, ทำให้ตื่น
ปฏิพุทฺธ : ค. ผู้ตื่นแล้ว
ปฏิโพธ : ป. การปลุก, การตื่น (จากหลับ)
ปพุทฺธ : ก. ผู้ตื่น, ผู้ตรัสรู้แล้ว
ปโพธ : (ปุ.) การตื่นขึ้น, การบรรลุ, การตรัสรู้. ปปุพฺโพ, พุธฺ อวคมเน, โณ.
ปโพเธติ : ก. ปลุก, ให้ตื่น, กระตุ้นเตือน, ให้เข้าใจ, ให้ตรัสรู้
ปุพฺพฏฺฐายี : (วิ.) ตื่นก่อน, ตื่นก่อนโดยปกติ, ฯลฯ.
ปุพฺพพุฏฺฐายี : ค. ผู้ลุกขึ้นแต่เช้า, ผู้ลุกขึ้นก่อน, ผู้ตื่นก่อน
ปุพฺพุฏฺฐายี : (อิต.) หญิงผู้ตื่นก่อน, ภรรยา.
ผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, หวั่นไหว, ตื่นเต้น
พหุชาคร : ค. ซึ่งตื่นอยู่โดยมาก
พุชฺฌนก : ค. ผู้รู้, ผู้เข้าใจ, ผู้รับรู้, ผู้ตื่น
พุชฺฌิตุ : ป. ผู้รู้, ผู้เข้าใจ, ผู้รอบคอบ, ผู้ตื่น
พุทฺธโกลาหล : นป. ความแตกตื่นอยากดูเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมา
พุทฺธสาสน : (นปุ.) ศาสนาแห่งท่านผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ศาสนาของพระ พุทธเจ้า, ศาสนาพุทธ, พุทธศาสนา, พุทธสาสนา, โดยมากใช้รูปสันสกฤต คือ พุทธศาสนา.
โพธนีย, โพธเนยฺย : ค. ควรแก่การตรัสรู้, สามารถตรัสรู้ได้, พอสอนให้รู้ธรรมได้,พอปลุกให้ตื่นได้
โพเธติ : ก. ปลุกให้ตื่น, ให้รู้สัจจ์
โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
รชนีย : ค. ซึ่งล่อใจ, เร้าใจให้ตื่นเต้น
วิโลฬน : นป. การตื่นเต้น, การยุ่งยาก, การกวน
วิโลเฬติ : ก. ตื่นเต้น, กวน
สงฺโขภ : ป. ความตื่นเต้นโกลาหล, ความกำเริบ
สงฺโขเภติ : ก. ตื่นเต้น, กำเริบ
สวิคฺค : กิต. สลดใจแล้ว, ตื่นเต้นแล้ว