ผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, หวั่นไหว, ตื่นเต้น
อนุรุชฺฌติ : ก. ยินดี, พอใจ, ปลื้มใจ, ตื่นเต้น
อาทว : ค. ตื่นเต้น
วิโลเฬติ : ก. ตื่นเต้น, กวน
สงฺโขเภติ : ก. ตื่นเต้น, กำเริบ
กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
รชนีย : ค. ซึ่งล่อใจ, เร้าใจให้ตื่นเต้น
วิโลฬน : นป. การตื่นเต้น, การยุ่งยาก, การกวน
สงฺโขภ : ป. ความตื่นเต้นโกลาหล, ความกำเริบ
สวิคฺค : กิต. สลดใจแล้ว, ตื่นเต้นแล้ว
อุพฺเพค : ป. ความตื่นเต้น
พุชฺฌติ : ก. รู้, เข้าใจ, รับรู้, ตื่น
อภิสมฺพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, รู้ยิ่ง, ตื่น
อวพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, เข้าใจ, ตื่น
อวโพธติ : ก. รู้แจ้ง, ตรัสรู้, ตื่น
ปริผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, เต้น
ลงฺฆติ : ก. กระโดด, เต้น
ลงฺเฆติ : ก. กระโดด, เต้น
ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
นิทฺทกฺขย : (วิ.) สิ้นความหลับ, ตื่น.
นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
ชาครติ : ก. ตื่น, ระมัดระวัง, เฝ้าดู
ปฏิพุชฺฌติ : ก. ตื่น, รู้, เข้าใจ
กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
กุตูหลมงฺคล : นป. มงคลตื่นข่าว; งานรื่นเริง, พิธีกรรม
โกตุหล โกตูหล โกตูหฬ : (วิ.) แตกตื่น, ตื่นข่าว, เอิกเกริก.
โกลาหล : (วิ.) เอิกเกริก, กระฉ่อน, กึกก้อง, วุ่นวาย, เซ็งแซ่, ชุลมุน, สับสน, แตกตื่น, อลหม่าน.
คตฺตวินาม : (ปุ.) การน้อมไปซึ่งกาย, การน้อมกายไปต่างๆ, การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ.
ชคฺค : นป. ความตื่นตัว, การดูแล, การเอาใจใส่
ชาครณ : (นปุ.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ.
ชาคริยา : (อิต.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ. ชาครเมว ชาคริยา. ย ปัจ. อิอาคม. ส.ชาคฺริยา.
นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
นฎ นฎก นฏฏ นฏฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, ลิเก, ตัวลิเก, ตัวละคร. นฏฺ นตฺยํ. ศัพท์ที่ ๑, ๓ อ ปัจ. ศัพท์ ที่ ๒, ๔ ณฺวุ ปัจ. ศัพทืที่ ๓, ๔ แปลง ฏ เป็น ฏฺฏ. ส. นฎ, นรฺตก.
นาฏ นาฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, คนฟ้อน, คนฟ้อนรำ, ตัวละคร. ส. นาฏก.
นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
นิโพเธติ : ก. ปลุก, ทำให้ตื่น
ปฏิพุทฺธ : ค. ผู้ตื่นแล้ว
ปฏิโพธ : ป. การปลุก, การตื่น (จากหลับ)
ปพุทฺธ : ก. ผู้ตื่น, ผู้ตรัสรู้แล้ว
ปโพธ : (ปุ.) การตื่นขึ้น, การบรรลุ, การตรัสรู้. ปปุพฺโพ, พุธฺ อวคมเน, โณ.
ปโพเธติ : ก. ปลุก, ให้ตื่น, กระตุ้นเตือน, ให้เข้าใจ, ให้ตรัสรู้
ปุพฺพฏฺฐายี : (วิ.) ตื่นก่อน, ตื่นก่อนโดยปกติ, ฯลฯ.
ปุพฺพพุฏฺฐายี : ค. ผู้ลุกขึ้นแต่เช้า, ผู้ลุกขึ้นก่อน, ผู้ตื่นก่อน
ปุพฺพุฏฺฐายี : (อิต.) หญิงผู้ตื่นก่อน, ภรรยา.
ผนฺทน : (วิ.) ไหว, สั่น, เคลื่อน, เต้นตุบๆ, เขม่น, โยกโคลง. ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ.
พหุชาคร : ค. ซึ่งตื่นอยู่โดยมาก
พุชฺฌนก : ค. ผู้รู้, ผู้เข้าใจ, ผู้รับรู้, ผู้ตื่น
พุชฺฌิตุ : ป. ผู้รู้, ผู้เข้าใจ, ผู้รอบคอบ, ผู้ตื่น