ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
จนฺทิมนฺตุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ วิ. จนฺทํ กปฺปูรํ มาติ สทิสํ นยตีติ จนฺทิมา. จนฺทปุพฺโพ, มา มานสทฺเทสุ, ตุ,นฺตุอาเทโส ( แปลง ตุ เป็น นฺตุ ), อิการาเทโส ( แปลง อ ที่ ท เป็น อิ ). ฎีกาอภิฯ.
ชตฺตุ : (นปุ.) คอต่อ, คอหอย. ชนฺ ชนเน, ตุ, นสฺส โต. ชรฺ วโยหานิยํ วา. ตุ, รสฺส โต. รูปฯ ๖๖๑.
ตุทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ตุทมฺปติ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ตุทํอาเสโท. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓.
ตุริยงฺค : (นปุ.) เครื่องดีดสีตีเป่า. ตุริย+องฺค. เป็น ตุริยางฺค บ้าง.
ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
ตุสิตา : (อิต.) เทวดาชั้นดุสิต.วิ. ตุสิตานํ นิวาสา ตุสิตา.
ตุหิน : (นปุ.) น้ำค้าง,วิ. โตหติ หึสตีติ ตุหินํ. ตุหฺ อทฺทเน, อิโน. โมคคัลลายนพฤติ วิ. ตุฑติ สตฺเต ปีเฬตีติ ตุหินํ. ตุทฺ วฺยถเน, อิโน, ทสฺส โห.
ทตฺตุ : (วิ.) เขลา, โง่. ทา กุจฺฉิตคมเน, ตุ, ทฺวิตฺตํ, รสฺโส จ.
ตุริย : (นปุ.) ดนตรี, เครื่องสาย, เครื่องดีดสีตีเป่า, หีบเสียง. กัจฯ และ รูปฯ เป็น ตูริย. ส. ตูร ตูรี.
ตุทน : นป. การต่ำ, การแทง, การเจาะ
ตุมูล : ค. ยิ่งใหญ่, กว้างใหญ่
ตุรงฺคสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ปีม้า, ปีมะเมีย.
ตุรงฺคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่ไปเร็ว, ควาย, กระบือ. ตุร+น+คมฺ ธาตุ อิ หรือ ณิ ปัจ. แปลง น เป็น ง มฺ เป็น รฺ ทีฆะต้นธาตุ.
ตุรติ : ก. รีบ, ด่วน, เร็วพลัน
ตุริ : (นปุ.) วัตถุไปเร็ว, กระสวย. ตุรฺ สีฆคติยํ, อิ.
ตุริต : (วิ.) รีบ,เร็ว, พลัน, ด่วน. ตรฺ ตรเณ, โต, อสฺสุ, อิอาคโม. ตุรฺ สีฆคติยํ วา, โต, อิอาคโม.
ตุริต : ก. วิ. เร็ว, พลัน, รีบ, ด่วน
ตุริตตุริต : (วิ.) รีบๆ, ฯลฯ, ด่วนๆ, รีบด่วน, เร็วพลัน.
ตุริตตุริต : ก. วิ. ด่วนๆ , เร็วๆ , พลันๆ , เร็วมาก, ด่วนมาก
ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
ตุริยสทฺท : ป. เสียงดนตรี
ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
ตุลาทณฺฑ : ป. คันชั่ง, คานตาชั่ง
ตุลิกา : (อิต.) นุ่น, ฟูกอันบุคคลยัดแล้วด้วย นุ่น, ฟูกยัดนุ่น.
ตุลิต : กิต. ชั่งแล้ว, ตวงแล้ว, เปรียบเทียบแล้ว, พิจารณาแล้ว
ตุลิย : (ปุ.) นกเค้าแมว ชื่อนกที่หากินกลาง คืนมีหน้าคล้ายแมว, บ่าง ชื่อสัตว์สี่เท้า ชนิดหนึ่ง ตัวคล้ายกระรอก โตเกือบเท่า ค่าง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อิโย. เป็น ตุลฺลิย บ้าง.
ตุเลติ : ก. ช่าง, ตวง, วัด, เปรียบเทียบ, พิจารณา
ตุวนฺตุว : นป. การทะเลาะ, การเถียงกัน, การต่อสู้กัน
ตุวิ : อิต. ฟัก, น้ำเต้า
ตุสน : (นปุ.) ความยินดี, ความแช่มชื่น, ความชื่นชม, ดุษฎี. ตุสฺ ตุฏฺฐยํ, ยุ. ส. ตุษฺฏิ.
ตุสาร : (ปุ. นปุ.) ฤดูหนาว, ฤดูน้ำค้าง. ส. ตุษาร.
ตุสิต : (ปุ.) ดุสิต ชื่อเทวโลกชั้นที่ ๔ ชื่อสวรรค์ ชั้นที่ ๔, ภพชื่อดุสิต, สวรรค์ชั้นดุสิต.
ตุสิตปุร : นป. เทวโลกชั้นดุสิต
ตุสิตภวน : (นปุ.) ภพชื่อดุสิต, ภพดุสิต.
ตุโสทก : นป. น้ำส้ม
ตุหน, ตุหิน : นป. น้ำค้าง
ขนฺตุ : (วิ.) ผู้ทน, ฯลฯ. ตุ ปัจ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือแปลง มฺ เป็น นฺ.
คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
ญาตุ : (ปุ.) คนผู้รู้. ญา+ตุ ปัจ.
ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
ตาตุ : (วิ.) ผู้ต้อต้าน, ฯลฯ. ตุ ปัจ.
ทาตุ : (วิ.) ให้, ยกให้, ถวาย. ทา ทาเน, ตุ.
นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
เภตฺตุ : (วิ.) ผู้ทำลาย. ภิทิ วิ-ทารเณ, ตุ.
สีลวนฺตุ : (วิ.) ผู้มีศีล วิ. สีลํ อสฺส อตฺถิตี สีลวา. วนฺ ตุ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
อาคนฺตุ : (ไตรลิงค์) แขก(คนผู้มาหา).วิ.อา-คจฺฉตีติอาคนฺตุ.อาปุพฺโพ, คมฺคมเน, ตุ.แปลงมฺเป็นนฺ.ส.อาคานฺตุ.
โกตุหล โกตูหล โกตูหฬ : (วิ.) แตกตื่น, ตื่นข่าว, เอิกเกริก.