วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
อนฺตเรน : (อัพ. นิบาต) ระหว่าง.เป็นอัพภันตรวาจก. เว้นเสีย, นอกจาก, ต่าง ๆเป็นวัชชนัตถวาจก.
อปร : (วิ.) อื่น, อีกอีก (ส่วนอนาคต), ตรงกันข้าม, ต่าง ๆ, ทีหลัง, ต่อมา.ส.อปร.
อุจฺจาวจ : (วิ.) มาก, ต่าง ๆ, สูงและต่ำ, สูง หรือต่ำ, ผิด ๆ ถูก ๆ. วิ. อุจฺจํ จ ตํ อวจํ เจติ อุจฺจาวจํ. อุจฺโจ วา อวโจ วา อุจฺจาวโจ. ส. อุจฺจาวจ.
กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
กีฏ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงสาบ, แมลง ต่าง ๆ, บุ้ง, ตั๊กแตน, กิฏฺ พนฺธนคมเนสุ, อ, ทีโฆ. ส. กีฏ.
อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
กมฺมวิเสส : ป. ความวิเศษแห่งกรรม, ความแตกต่างแห่งกรรม
กมฺมโวสฺสคฺค : ป. ความแตกต่างแห่งกรรม, การจำแนกแห่งกรรม
กฬิงฺคร : (ปุ.) ข้าวลีบ, แกลบ. ดู กลิงฺคร ต่างแต่ลง ฬฺ อาคม แปลว่า ดุ้นฟืน ท่อน ฟืน ท่อนไม้ ก็มี.
กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
กิมิชาติ : (อิต.) ชาติแห่งหนอน, หนอน, แมลงต่าง ๆ. สองคำแปลหลัง ลง ชาติสกัด.
กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
จณฺฑาล : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนชั้นต่ำ, คนดุ, ฯลฯ, คนจัณฑาล (ลูกของคนที่พ่อแม่ต่างวรรณะกัน).
จมฺปกนีลุปฺปลาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยดอกไม้ มีดอกจำปา และดอกอุบลเขีนวเป็นต้น.
จีวรทานาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยกุศลมีอัน ถวายซึ่งจีวรเป็นต้น.
จีวรวคฺค : (ปุ.) ตอนกล่าวถึงผ้า, ตอนกล่าวถึง ผ้าต่างๆ, ตอนว่าด้วยผ้าต่างชนิด.
ฉนฺทนานตฺต : นป. ความแตกต่างกันแห่งความพอใจหรือปรารถนา
ฉฬภิญฺญาปฏิสมฺภิทาทิปฺปเภทคุณปฏิมณฑิต : (วิ.) ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณอันต่าง ด้วยธรรมวิเศษมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิ- ทาเป็นต้น, ผู้ประดับประดาแล้วด้วย..., ผู้ อันคุณมีคุณมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิทา เป็นต้นเป็นประเภทประดับแล้ว.
ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
ชาติสมฺเภท : ป. ความแตกต่างแห่งชาติตระกูลหรือยศศักดิ์
ตพฺพิปรีต : ค. ซึ่งต่างกันกับสิ่งนั้น, ซึ่งไม่เหมือนกันกับสิ่งนั้น
ติโรรฏฺฐ : ป. ต่างประเทศ, รัฐภายนอก
ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
ทานกถาทิเภท : (วิ.) (อนุปุพพิกตา) อันต่าง ด้วยกถามีทานกถาเป็นต้น.
ทิสาวาสิก, - วาสี : ค. ผู้อยู่ในทิศ, ผู้อยู่ต่างทิศ, ผู้อยู่ต่างผู้แดน, ผู้อยู่ต่างประเทศ
ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
นาน : (วิ.) ต่างกัน, ต่างๆ, ต่างๆกัน.
นานตฺตสญญา : (อิต.) สัญญาต่าง ๆ กัน.
นานตฺตา : (อิต.) ความต่าง, ความต่างกัน.
นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
นานาโคตฺต : ค. มีโคตรแตกต่างกัน, มีตระกูลต่างๆ กัน, มีเหล่ากอต่างๆ กัน
นานาจิตฺต : ค. มีจิตใจแตกต่างกัน, มีความคิดไม่เหมือนกัน
นานาวาท : (ปุ.) การกล่าวต่างกัน, การกล่าว ต่างๆกัน.
นานาสวาส : ป., ค. การอยู่ร่วมโดยมีธรรมวินัยต่างกัน, มีสังวาสต่างกัน
นานาสวาสก : ค. ผู้อยู่ร่วมในธรรมวินัยต่างกัน, ผู้อยู่ในคณะต่างกัน
นานุปชฺฌาย : (ปุ.) พระอุปัชฌายะต่างรูปกัน (ต่างพระอุปัชฌายะกัน).
นิปฺปริยาย : ค. ไม่แตกต่าง, ไม่อ้อมค้อม, แน่ชัด, ตรงไปตรงมา, สิ้นเชิง
นิพฺพิกปฺป : ป. ความเด่น, ความแตกต่าง
นิพฺพิเสส : ค. อันเหมือนกัน, เสมอกัน, ซึ่งไม่แตกต่างกัน
นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.