ชาติ : (อิต.) มะลิ, ดอกมะลิ.
วิชาติก : ค. ต่างชาติ
ภินฺนชาติ : (อิต.) ชาติอื่น, ต่างชาติ.
ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
ชาตี : (อิต.) ชาตบุษย์ , มะลุลี, มะลิซ้อน.
ชาติสุวรณฺณ : (นปุ.) ทองเกิดโดยกำเนิด, ทอง แต่กำเนิด, ทองธรรมชาติ, ทองคำธรรม ชาติ.
ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
ชาติวาท : ป. การสนทนาถึงเรื่องชาติ, การถกกันด้วยเรื่องเทือกเถาเหล่ากอ
ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.
ชาตินิโรธ : ป. ความดับสูญแห่งการเกิด
ชาติผล : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ, ผลจันทร์.
ชาติวีณา : อิต. พิณที่มีมาแต่เกิด, พิณคู่มือ, พิณประจำสกุล
ชาติเวท : ป. เปลวไฟ
ชาติสุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ ชื่อบัว, มะลุลี ชื่อต้นไม้ในวรรณคดี, ดอกบัว, มะลิ, มะลิซ้อน.
กิมิชาติ : (อิต.) ชาติแห่งหนอน, หนอน, แมลงต่าง ๆ. สองคำแปลหลัง ลง ชาติสกัด.
ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
ชาติสมฺเภท : ป. ความแตกต่างแห่งชาติตระกูลหรือยศศักดิ์
ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
ธญฺญชาติ : (อิต.) ข้าวเปลือก. ชาติ สกัด.
วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
กณฺหาภิชาติ : อิต. กัณหาภิชาติ, กำเนิดดำ
ติณชาติ : อิต. ติณชาติ, หญ้า
ทยฺยชาติ : (อิต.) ชาติไทย
ปุพฺพชาติ : (อิต.) ชาติมีในก่อน, ชาติมีในกาลก่อน, ชาติก่อน, บุรพชาติ.
ปุพฺพณฺณชาติ : (อิต.) บุพพัณชาติ คือพืชที่จะกินก่อน ได้แก่ ข้าวทุกชนิด.
ปุริมชาติ : อิต. ชาติก่อน
พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
มนุสฺสชาติ : (อิต.) การเกิดเป็นมนุษย์, ชาติมนุษย์.
อนฺตชาติ : (อิต.) ชาติแห่งคนต่ำช้า (คนไม่มีตระกูล).
อริยชาติ : (อิต.) ชาติผู้เจริญ, อารยชาติคือชาติที่พ้นจากความป่าเถื่อน.
อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
ปจฺฉาชาติ : กิต. เกิดภายหลัง
มิลกฺขชาติ : อิต. คนป่าเถื่อน
สญฺชาติ : อิต. ความเกิด
หิงฺคุชาติ หิงฺคสิปาฎิกา : (อิต.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
อภิชาติ : อิต. ๑. การเกิดใหม่, การปฏิสนธิ;
๒. วงศ์ตระกูล, เหล่ากอ
อภิชาติตา : อิต. ความเป็นผู้เกิด, การถือปฏิสนธิ; จำความ
เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
อนฺตเรน : (อัพ. นิบาต) ระหว่าง.เป็นอัพภันตรวาจก. เว้นเสีย, นอกจาก, ต่าง ๆเป็นวัชชนัตถวาจก.
อปร : (วิ.) อื่น, อีกอีก (ส่วนอนาคต), ตรงกันข้าม, ต่าง ๆ, ทีหลัง, ต่อมา.ส.อปร.
อุจฺจาวจ : (วิ.) มาก, ต่าง ๆ, สูงและต่ำ, สูง หรือต่ำ, ผิด ๆ ถูก ๆ. วิ. อุจฺจํ จ ตํ อวจํ เจติ อุจฺจาวจํ. อุจฺโจ วา อวโจ วา อุจฺจาวโจ. ส. อุจฺจาวจ.
กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
กีฏ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงสาบ, แมลง ต่าง ๆ, บุ้ง, ตั๊กแตน, กิฏฺ พนฺธนคมเนสุ, อ, ทีโฆ. ส. กีฏ.
ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.