Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ต่ำ , then ตำ, ต่ำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ต่ำ, 95 found, display 1-50
  1. ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
  2. ขุทฺท, ขุทฺทก : ๑. ป., นป. ง้วนผึ้ง, น้ำผึ้ง, ผึ้งตัวเล็ก, ผึ้งหวี่, แมลงวัน; ๒. ค. น้อย, เล็ก, ต่ำ, ยากไร้, ไม่สำคัญ
  3. ทุฏฺฐุลฺล : ค., นป. ชั่วหยาบ, หยาบโลน, ต่ำ, ทราม; กรรมชั่ว, คำพูดหยาบโลน
  4. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  5. นิกิฏฺฐ : (วิ.) ชั่ว, ชั่วช้า, เลว, ต่ำ, ต่ำช้า, โหด, ถ่อย. นิปพฺโพ นินฺทายํ, กิฏ คติยํ, โฐ.
  6. อนฺต : (วิ.) เลว, ทราม, ต่ำ, ต่ำช้า, ลามก, หลัง, สุด, สุดท้าย.ส.อนฺต.
  7. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  8. อิตร : (วิ.) อื่น, นอกนี้, ประการนี้, ต่างหาก, ต่ำ, สั้น. อิตรสทฺโท ปาฏิปทิโก. อญฺญตฺถ - วาจโก. อิทํสทฺทา วา ตโร, อญฺญทตฺโถ, ทํโลโป จ. ที่แปลว่า ต่ำ สั้น ส่วนมากใช้ อิตฺตร. ส. อิตร.
  9. โอ : (อัพ. นิบาต) ลง, ต่ำ, ลามก, เลว, ทราม, เลวทราม.
  10. นีจ : ค. ต่ำ
  11. โอกฺกฏฐ : กิต. ต่ำ
  12. ขุทฺท : (วิ.) เล็ก, น้อย, เล็กน้อย, ต่ำช้า, ต่ำ- ทราม, ยากไร้, กำพร้า, ตระหนี่.
  13. ขุลฺล ขุลฺลก : (วิ.) เล็ก, น้อย, เลว, ต่ำ. ขุรฺ เฉทเน, โล, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  14. ปริตฺต : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ต่ำ. วิ. ปริโต อตฺตํ ขณฺฑิตํ ปริตฺตํ. ปริโต อวขณฺฑตีติ วา ปริตฺตํ. ปริปุพฺโพ, ทา อวขณฺฑเน, โต, ทสฺสโต, รูปวิ. ใช้ อว+ ขฑิ ธาตุแทน.
  15. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  16. อนุ : (อัพ. อุปสรรค)น้อย, ภายหลัง, ตาม, เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำ.ส. อนุ.
  17. ชมฺม : (วิ.) ต่ำ, เลว, ถ่อย, ทราม, ลามก, ผู้ไม่ ใคร่ครวญในคุณและโทษแล้วทำ. วิ. คุณ โทเส อนิสมฺม โย กโรติ โส ชมฺโม.
  18. ติร : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย,ต่ำทราม. ติรฺ อโธคติยํ, อ.
  19. ตุทติ : ก. ต่ำ, แทง, เจาะ, ลับ
  20. นิหีน : ค. ต่ำ, เลว
  21. รสฺส : ๑. ป. คนเตี้ย, คนแคระ; ๒. ค. ต่ำ, สั้น
  22. สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
  23. เหฎฺฐาภาค : (ปุ.) ส่วนมีในเบื้องต่ำ, ฯลฯ, ส่วนมีในภาคใต้, ส่วนอันเป็นเบื้องตำ, ฯลฯ, ส่วนอันเป็นภายใต้.
  24. อว : ก., วิ. ต่ำ, ลง, ข้างล่าง
  25. อวจ (อโวจ) : ๑. ก. (เขา) ได้กล่างแล้ว ; ๒. ค. ต่ำ, ทราม
  26. อวภูต : ค. ต่ำ, ไม่มีค่า, น่าเกลียด, ปรากฏ
  27. อาวชฺช : (วิ.) ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, ทราม, เลว ทราม, อาปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณฺย.
  28. โอมก : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย, เลว, ทราม, เลว ทราม, ลามก, เล็ก. อมฺ นินฺทายํ, โณ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง อ ปัจ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  29. โอร โอรก : (วิ.) ต่ำ, เบื้องต่ำ, ต่ำต้อย, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ลามก, เล็ก, น้อย, เล็ก น้อย. ส. อวร.
  30. กณฺหาภิชาติก : ค. ผู้เกิดในตระกูลต่ำ
  31. กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
  32. จณฺฑาล : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนชั้นต่ำ, คนดุ, ฯลฯ, คนจัณฑาล (ลูกของคนที่พ่อแม่ต่างวรรณะกัน).
  33. จิตฺตกลิ : ป. ความชั่วร้ายแห่งจิต, โทษของจิต, จิตที่ชั่วช้า, จิตที่ต่ำทราม
  34. ฉปก : ป. ชื่อชาติชนชั้นต่ำ (จัณฑาล)
  35. ชมฺมี : (ปุ.) ผู้มีความต่ำ,ฯลฯ. อีปัจ. ตทัสสัตถิตัท
  36. ติรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ, การดูแคลน, การดูหมิ่น, การดูถูก, ความดูแคลน, ฯลฯ. ส. ติรสฺการ.
  37. ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
  38. ตุทน : นป. การต่ำ, การแทง, การเจาะ
  39. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  40. เทวญฺญตร : ป. เทพตนใดตนหนึ่ง, เทพชั้นต่ำ
  41. นินฺนตา : อิต. ความต่ำ, ความเอียง, ความเท
  42. นิมฺมานิยติ : ก. อันเขาลดต่ำลง, อันเขาเย้ยหยัน, อันเขาไม่นับถือ
  43. นิหีนกมฺม : นป. กรรมทราม, การกระทำที่ต่ำทราม
  44. นีจกุล : นป. ตระกูลต่ำ
  45. นีจกุลีนตา : อิต. ความเป็นผู้มีตระกูลต่ำ
  46. นีจาสน : นป. ที่นั่งต่ำ
  47. ปติกิฏฺฐ : ค. น่ารังเกียจ, ต่ำทราม, เลว
  48. ปโรวร, ปโรวริย : ค. สูงและต่ำ
  49. ปิฬหก : ป. หนอน, สัตว์ชั้นต่ำชนิดมีคูถเป็นอาหาร
  50. ปุถุชฺชน : ป. ปุถุชน, คนธรรมดา, คนสามัญ, คนต่ำ, คนหลง
  51. [1-50] | 51-95

(0.0240 sec)