Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ต้องห้าม, ห้าม, ต้อง , then ตอง, ต้อง, ต้องห้าม, หาม, ห้าม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ต้องห้าม, 264 found, display 1-50
  1. นิยมน : (นปุ.) การกำหนด, การห้ามไว้, การทำให้ถูกต้องตามแบบ. อุ ปัจ.
  2. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  3. ยาวตติยก : (นปุ.) ยาวตติยกะ เป็นคำเรียกอาบัติ สังฆาพิเศษ ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๑๐-๑๓ เพราะต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ๓ ครั้งแล้ว.
  4. สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
  5. อคมนียวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่พึงถึง, วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่ควรล่วงวัตถุไม่ควรถึง, วัตถุต้องห้าม, อคมนียวัตถุ ได้แก่หญิงหรือชายที่กฎหมายหรือศีลธรรมระบุไว้มิให้ชายหรือหญิงผู้รักษาศีลธรรมล่วงละเมิดทางประเวณี.
  6. อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
  7. ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
  8. นิวาเรติ : ก. ป้องกัน, กีดขวาง, ห้าม, ปฏิเสธ
  9. นิเสเธติ : ก. ป้องกัน, ห้าม
  10. ปฏิกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, ติเตียน, แช่งด่า, ดูหมิ่น; คัดค้าน, ปฏิเสธ, ห้าม
  11. ปฏิเสธติ, - เธติ : ก. ปฏิเสธ, ห้าม, ป้องกัน, กีดกั้น, ขัดขวาง
  12. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  13. อภินิคฺคณฺหาติ : ก. ยึด, ดึงกลับ, ป้องกัน, ห้าม
  14. อาวรณ : (วิ.) ปิด, กั้น, ล้อม, กัน, ป้องกัน, ระวัง, ห้าม, ขัดขวาง, กำบัง.
  15. อาวรติ : ก. ปิด, กั้น, กีดกัน, ห้าม
  16. อาวาเรติ : ก. ป้องกัน, ห้าม, กีดกัน
  17. อุปรุนฺธติ : ก. เข้าไปปิดไว้, กั้น, ขวาง, ห้าม
  18. อจิตฺต : (วิ.) ไม่มีจิตเจือ, ไม่มีเจตนา, อจิตตกะคือโทษ(อาบัติ)ที่เกิด(ต้อง)โดยสมุฏฐานไม่มีเจตนา คือไม่คิดไว้ก่อน.
  19. กตาปราธ : ค. ผู้ต้องโทษ, ผู้มีความผิด
  20. กปฺปิยกุฏิ : อิต. กัปปิยกุฏี, กุฎีนอกวิหารใช้เป็นที่เก็บของที่ถูกต้องตามพุทธานุญาต
  21. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  22. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  23. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  24. กรณีย : (นปุ.) กิจอัน...พึงทำ. กรรม...อันพึง ทำ, กิจที่ควรทำ, กิจที่พึงทำ, กิจที่ต้องทำ, กิจจำเป็น, กรัณย์. กรฺ กรเณ, อนีโย, นสฺส ณตฺตํ. ที่เป็นกิริยา ก็เป็น กรณีย เหมือนกัน.
  25. กากามสก : ค. ผู้จับต้องเหมือนอย่างกา, ผู้กินอาหารที่จับจด, ผู้รังเกียจอาหาร
  26. กายสสคฺค : ป. การจับต้องกาย, การสัมผัสกาย, การเกี่ยวข้องทางกาย
  27. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  28. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  29. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  30. กูฏมาน : นป. เครื่องชั่งโกง, เครื่องตวงวัดที่ไม่ถูกต้อง
  31. กูฏวินิจฺฉยิกถา : อิต. คำวินิจฉัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
  32. โกลงฺโกล : ค. ผู้ไปจากตระกูลสู่ตระกูล (พระโสดาบัน) ผู้ยังต้องเกิดอยู่ในภพอีก ๒ ภพบ้าง ๓ภพบ้าง จึงจะได้บรรลุพระอรหันต์
  33. ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
  34. คตินิวตฺติ : (อิต.) การห้ามการไป, การหยุด, ฯลฯ.
  35. คาม : (ปุ.) อันไป, การไป, การถึง, การต้อง. วิ. คมนํ คาโม. คมฺ คติยํ, โณ. การไปของ ช้างเป็นต้น. หตฺถาทีนํ คมนกฺริยา คาโม.
  36. ฆานสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องทางจมูก, ฆานสัมผัส.
  37. จกฺขุสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องพร้อมแห่งตา, การถูกต้องทางตา. จกฺขุสฺส (วิ) เกื้อกูลแก่จักษุ วิ.จกฺขุโน หิต จกฺขุสฺส สฺสปัจโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๑
  38. จวนธมฺม : ค. มีการจุติเป็นธรรมดา, ซึ่งจะต้องตายจากไปอย่างแน่นอน
  39. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  40. จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
  41. เจตก : (ปุ.) สัตว์อันเขาส่งไป. สัตว์สำหรับต่อ ( สัตว์พวกเดียวกัน), สัตว์ต่อ, จิฎฺ เจฏฺ วา เปสเน, จิต เปสนีเย วา, โณ, สตฺเถ โก. หรือลง ณฺวุ ปัจ. ถ้าลง ณฺวุ ก็ไม่ต้องลง ก สกัด.
  42. เจโตสมฺผสฺส : ป. การสัมผัสทางใจ, การถูกต้องด้วยใจ
  43. ฉุป : (ปุ.?) การถูก, การต้อง, การถูกต้อง, การรบกัน, สงคราม, เถาวัลย์, ลม. ฉุปฺ สมฺผลฺเส, อ. ส. ฉุป.
  44. ฉุปติ : ก. แตะต้อง, ลูบคลำ
  45. ฉุปิต : ค. อันเขาแตะต้องแล้ว, อันเขาลูบคลำแล้ว
  46. เฉทนก : ๑. นป. สิ่งที่ต้องตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม, วิธีการตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม ; ๒. ผู้ตัด, ผู้บั่น, ผู้ทอน, ผู้ฉีก
  47. เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.
  48. ชาติมย : ค. สำเร็จแต่ชาติ, เกิดมาถูกต้องโดยสัญชาติ
  49. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  50. ชีวิตปริกฺขาร : ป. บริขารแห่งชีวิต, สิ่งที่จำเป็นแก่ชีวิต, สิ่งที่ชีวิตต้องอาศัยเป็นอยู่
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-264

(0.0583 sec)