Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถวาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ถวาย, 43 found, display 1-43
  1. ทินฺน : กิต. (อันเขา) ให้แล้ว, มอบแล้ว, ถวาย, อนุญาตแล้ว
  2. อภิสหรติ : ก. มอบให้, ถวาย
  3. อภิสิญฺจติ : ก. รด, โปรย, พรม, อภิเษก, ถวาย, อุทิศ ; วิดน้ำ
  4. ทาตุ : (วิ.) ให้, ยกให้, ถวาย. ทา ทาเน, ตุ.
  5. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  6. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  7. กฐิน : ๑. นป. ไม้สะดึง ; ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาเพื่อทำจีวร; ๒. ค. กระด้าง, แข็งทื่อ, เคร่งตึง
  8. กฐินทุสฺส : นป. ผ้ากฐิน, ผ้าที่ถวายพระสงฆ์ประจำปีเพื่อทำจีวร
  9. คหปติจีวร : (นปุ.) ผ้าอันคฤหบดีถวาย, ผ้าที่ ชาวบ้านถวาย.
  10. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  11. จีวรทานสมย : ป. สมัยถวายจีวรในจีวรกาล
  12. จีวรทานาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยกุศลมีอัน ถวายซึ่งจีวรเป็นต้น.
  13. จีวราทิปจฺจยทาน : (นปุ.) การถวายปัจจัยมีจีวร เป็นต้น.
  14. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  15. ทกฺขิณารห : ค. ผู้ควรทักษิณา, ผู้สมควรได้รับไทยธรรมที่ประชาชนถวาย
  16. ทกฺขิณาวิสุทฺธิ : อิต. ความหมดจดแห่งทักษิณา, ความบริสุทธิ์แห่งไทยธรรมที่นำมาถวาย
  17. ทกฺขิเณยฺยเขตฺต : นป. เนื้อนาบุญอันควรซึ่งทักษิณา, บุคคลผู้เป็นดุจเนี้อนาที่ควรนำไทยธรรมมาถวาย
  18. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  19. ทกฺขิต : ค. ซึ่งถวายแล้ว, ซึ่งอุทิศให้แล้ว
  20. ทตฺติก, - ติย : ๑. ค. อันเขาให้, ซึ่งเป็นของที่เขาให้ (ใช้ในคำสมาส เช่น กุลทตฺติก, สกฺกทตฺติย, มหาราชทตฺติย เป็นต้น) ๒. นป. ของที่เขาให้, ของถวาย
  21. ทานุปกรณ : นป. อุปกรณ์แห่งทาน, เครื่องถวายทาน
  22. ทุทฺทท : (วิ.) อัน...ถวายได้โดยยาก, อันให้ได้โดยยาก. ทุกฺข+ทท ลบ กฺข ซ้อน ทฺ
  23. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  24. นิโคฺรธาราม : (ปุ.) นิโครธาราม ชื่อวัดอยู่ใน เมืองกบิลพัสดุ์ ซึ่งเจ้าศากยะสร้างถวาย.
  25. นิจฺจภตฺต : (นปุ.) ภัตอัน.. ถวายประจำ, ภัตที่...ถวายประจำ, นิตยภัต.
  26. ปาฏิปาทก, - ทิก : ค. (ภัตต์) ที่ถวายในวันขึ้นหรือแรม ๑ ค่ำ
  27. ปุปฺผทาน : นป. การให้ดอกไม้, การถวายดอกไม้
  28. พลิการก : ค. ผู้กระทำพลีกรรม, ผู้ถวายเครื่องสังเวย
  29. พุทฺธเทยฺย : (วิ.) ควรถวายแด่พระพุทธเจ้า วิ. พุทฺธสฺส เทยฺยํ พุทฺธเทยฺยํ. รูปฯ ๓๓๖.
  30. ภตฺตาหาร : (ปุ.) อาหารคือข้าว, ข้าวและอาหาร, ภัตาหาร คือ อาหารต่างๆ ที่จัดไว้สำหรับถวายพระ.
  31. ภลฺลิก : (ปุ.) ภัลลิกะ ชื่อพ่อค้าคู่กับตปุสสะ ผู้ถวายสัตตุก้อน สัตตุผง แด่พระพุทธเจ้า.
  32. มตกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลพึงให้เพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่ออุทิศผลแด่บุคคลผู้ตาย, ภัตเพื่อผู้ตาย, มตกภัต (อาหารที่ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย).
  33. มหาราช : (ปุ.) พระราชาที่มหาชนเคารพ, พระราชาผู้ใหญ่, มหาราช. พระมหาราช. พระราชาที่ทรงทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติเหนือกว่าพระราชาองค์อื่นๆ. พสกนิกรจะถวายพระนามว่า มหาราช เช่น สมเด็จพระนเรศวร พระเจ้าตากสิน เป็นต้น. เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศ. ศัพท์นี้ที่ใช้เป็น อาลปนะ สำหรับพระพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน แปลว่า ขอถวายพระพร.
  34. สงฺฆภตฺต : นป. ข้าวที่นำไปถวายสงฆ์
  35. สุชาตา : (อิต.) พระนางสุชาดา ชื่อพระชายาของพระอินทร์, นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษในเช้าวันตรัสรู้. วิ. สุเขน ชาดา สุนฺทรา วา ชาติ ยสฺสา สา สุชาตา.
  36. โสตฺถิย : (ปุ.) โสตถิยะ ชื่อพราหมณ์ผู้ถวายหญ้าแด่พระมหาบุรุษตอนเย็นวันตรัสรู้. ใช้เป็นชื่อของพราหมณ์ทั่วไปด้วย. พม่า และ ฎีกาอภิฯ เป็นโสตฺติย วิ. สุตฺตํ พฺรหฺมสุตฺตํ อธิเตติ โสตฺติโย.
  37. อกาลจีวร : (นปุ.) ผ้าอันเกิดขี้นในสมัยมิใช่กาล, ผ้าที่ทายกทายิกาถวายนอกเขตฤดูกาล (ที่ทรงอนุญาต) คือผ้าที่เกิดขึ้นนอกเขตกาลจีวร, อกาลจีวร.อกาลจีวรมีกำหนดดังนี้ถ้าภิกษุไม่ได้กรานกฐินมีกำหนด ๑๑ เดือน ตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  38. อจฺจน : (นปุ.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  39. อจฺจนา : (อิต.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  40. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  41. อภิสิญฺจน : นป. การอภิเษก, การประพรม, การถวายน้ำศักดิ์สิทธิ์ให้เป็นพระราชา, การแต่งตั้ง, การบรรลุ
  42. อาคนฺตุกทาน : (นปุ.) ทานอันบุคคลพึงถวายแก่ภิกษุผู้จรมา, ทานอันบุคคลพึงให้แก่คนผู้จรมา.
  43. อุปนาเมติ : ก. น้อมเข้าไป, นำเข้าไป, น้อมถวาย
  44. [1-43]

(0.0056 sec)