ถามก : ค. มีเรี่ยวแรง, มีกำลัง
ถามวนฺตุ : ค. ผู้มีเรี่ยวแรง, ผู้มีกำลัง
ถาลิก : (ปุ.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
ถาลิกปาก : (ปุ.) สำรับ (ภาชนะที่ใส่กับข้าว คาวหวาน).
ถาลิ ถาลิกา ถาลี : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
ถาลิโธวน : นป. การล้างชาม, การล้างหม้อ
ถาลิปาก : ป. หม้อข้าว, การเลี้ยงเพื่อมงคล
ถาลี : อิต. หม้อข้าว, หม้อดิน, ชามใหญ่
สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
ปถาวี ปถิก : (ปุ.) คนไปในหนทาง, คนไปสู่ หนทาง, คนเดินทาง วิ. ปเถ ปถํ วา คจฺฉตีติ ปถาวี. วี ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ถ เป็น อา. อภิฯ ลง วี ปัจ.รูปฯ และ โมคฯ ลง อาวี ปัจ. ศัพท์ หลัง วิ. เหมือน ปถาวี. อภิฯ ลง อิก ปัจ.รูปฯ ลงณิก ปัจ.
ติณวตฺถารก : (ปุ.) ติณวัตถาระกะ ชื่อวิธีระงับ อธิกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการประนีประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม.
สพฺพถา : (อัพ. นิบาต) ซึ่งประการทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง. วิ. สพฺพํ ปการํ สพฺพถา. สพฺเพน วา ปกาเรน สพฺพถา. รูปฯ ๔๐๕
หตฺถาณึก หตฺถานึก : (นปุ.) หัตถานึก ช้าง ๓ เชือก แต่ละเชือกมีพลประจำ ๑๒ คน ชื่อ หัตถานึก, กองพลช้าง, กองทัพช้าง.
หตฺถาโรห : (ปุ.) ควาญช้าง, นายควาญช้าง. วิ. หตฺถึ อารูหตีติ หตฺถาโรโห. หตฺถีปุพฺโพ, รุหฺ รุฬฺหเน, โณ. กองช้าง ก็แปล.
อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
อวตฺถา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความดำรงอยู่, ความกำหนด, อวปุพฺโพ, ถาคตินิวตฺติยํ, อ, ตฺสํโยโค.ส.อวสฺถา.
อิตฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนคือหญิง, เรือนของ หญิง, พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, ห้องพระมเหสี. วิ. ราชิตฺถีน มคารํ อิตฺถาคารํ. โดยอุปจารโวหาร หมายเอา นางสนม กำนัล ก็ได้.
อุโปสถาคาร : นป. อุโบสถาคาร, โบสถ์, โรงอุโบสถ
ถ : (ปุ.) ภูเขา, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความต้านทานภัย, มงคล. อุ. ถตฺถํ วิหิต- ปณาโม ประณามอันข้าฯตั้งไว้แล้วเพื่อ ความเป็นมงคล. ถุ คติเถริเยสุ. อ. ส. ถ.
กมฺมกถา : อิต. การกล่าวเรื่องของกรรม, กรรมบรรยาย
กากติตฺถา : อิต. กรรมที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
กูฏวินิจฺฉยิกถา : อิต. คำวินิจฉัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
คณนปถาตีต : ค. เหลือที่จะนับได้, นับไม่ถ้วน, นับไม่ได้
คาถาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งคาถา, กาลเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
ชนปทกถา : อิต. การพูดถึงเรื่องชนบท
ตถาการี : (วิ.) (คนตรง คิด พูดอย่างไร) ทำ อย่างนั้น.
ตถาภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนั้น, ฯลฯ.
ตถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างนั้น, ฯลฯ, มีอย่างนั้น เป็นรูป, ฯลฯ.
ตถาวาที : ค. ผู้กล่าวเช่นนั้น, กล่าวอย่างนั้น
ตถาวิธ : ค. เหมือนอย่างนั้น, เช่นนั้น, ดังนั้น, อย่างนั้น
ติณสนฺถารก : ป. เสื่อทำด้วยหญ้า, เสื่อหญ้า
ทานกถาทิเภท : (วิ.) (อนุปุพพิกตา) อันต่าง ด้วยกถามีทานกถาเป็นต้น.
ธมฺมกถา : อิต. ธรรมกถา, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม, การสนทนาธรรม
นานตฺตกถา : (อิต.) เรื่องเบ็ดเตล็ด.
ปถาวี : ป. ผู้เดินทาง, นักท่องเที่ยว
ปริกถา : (อิต.) การพูดเลียบเคียง, การพูดและ เล็ม, การพูดบรรยาย, คำอธิบาย, นิยาย, คำพูดเลียบเคียง, ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, กถฺ วจเน, อ.
ปานียถาลิกา : อิต., ปานียภาชน นป. ถ้วยน้ำ, ถ้วยน้ำดื่ม
ปาภติกถา : อิต. เรื่อง, ข่าว
ปุรตฺถา : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา. ปุรปุพฺโพ, ภา คตินิวุตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ จัดเป็น อัพ.นิบาต ลงในอรรถทิศตะวันออก.
พิลงฺคิถาลิกา : อิต. ภาชนะสำหรับใส่น้ำส้มหรือน้ำผักดอง
ววตฺถาปน : นป. การกำหนด, การตั้งใจแน่วแน่
วิคฺคาหิกกถา : อิต. พูดหาเรื่องทะเลาะ
วิตฺถาริก : ค. มีความกว้างขวาง
วิตฺถาริต : กิต. กว้างขวางแล้ว
วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
สนฺถาร สนฺถารก : (ปุ.) การลาด, การปู, การปูลาด, ที่รอง. ณ ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด.