เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
คณฺฐิฏฐาน : นป. ทางที่ทุรกันดาร
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชนปท : (ปุ.) ตำบล, บ้านเมือง, ประเทศถิ่น. ไทยใช้ ชนบท ในความหมายว่า พื้นที่ หรือ เขตแดนที่อยู่นอกเขตเมืองหลวง บ้านนอก. ส. ชนบท.
ชนปทปเทส : ป. ถิ่นที่อันเป็นชนบท, ส่วนชนบท
ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
เทสปาล : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
เทสมนฺตี : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
เทสิก :
๑. ค. ดู เทสก๒. ค. ซึ่งมีในถิ่น, ซึ่งเกิดในประเทศ, ซึ่งเนื่องในประเทศ
ปฏิรูปเทสวาส : ป. การอยู่ในประเทศอันสมควร, การอยู่ในถิ่นที่เจริญ
ปเทสรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาในประเทศ, ความเป็นใหญ่ในถิ่น, ความเป็นเจ้าประเทศราช
ปเทสิก : ค. ซึ่งมีในประเทศ, ซึ่งมีในบางถิ่น, ซึ่งเป็นบางส่วน
ปพฺพตคหณ : นป. ชัฏแห่งภูเขา, ดงที่มีภูเขา, ถิ่นที่มีภูเขามาก
ปริเวณ : นป. บริเวณ, ขอบเขต; ถิ่นที่อยู่
ปวสติ : ก. อยู่ต่างถิ่น, อยู่ไกลบ้าน
ปวาส : ป. การท่องเที่ยวไปต่างประเทศ, การอยู่นอกถิ่นของตน
ปวาสี : ค. ผู้อยู่ต่างถิ่น, ผู้อยู่นอกบ้าน
อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
ถนธาร : (ปุ.) สายน้ำอันเกิดแต่ถัน, สาย น้ำนม.
ถนปา : (อิต.) เด็กหญิงผู้ดื่มซึ่งน้ำอันเกิดจาก นม, ฯลฯ, ทาริกา.
ถนยติ : ก. คำราม, แผดเสียง, (ฟ้า) ร้อง
ถนสิทารก : ป. ทารกผู้นอนดูดนม, เด็กกินนม
ถนี : ค. ผู้มีถัน, ผู้มีนม
ถิน : (วิ.) หย่อน, ย่อหย่อน, เบา, หลวม, เหลว (ไม่ได้เรื่อง), คร้านจิต (จิตท้อถอยไม่ อยากทำอะไร). สถฺ เสถิลฺเล, อิโน, ลบ ต้นธาตุ.
ถีน : (วิ.) แข็ง, หยาบ, กระด้าง. ถภิ ปติพนฺธเน, อีโน. ลบที่สุดธาตุ.
เถน : (ปุ.) โจร, ขโมย, เถน โจริเย, อ.
เถน, - นก : ป. ขโมย
ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
ถนป : (ปุ.) เด็กผู้ดื่มน้ำอันเกิดจากนม, เด็ก ผู้ดื่มน้ำนม, เด็กยังดื่มนม, เด็กยังเล็ก, เด็กทารก, ทารก. วิ. ถนํ ปิวตีติ ถนโป. ถนปุพโพ, ปา ปาเน, อ.
ถนิต : (นปุ.) ฟ้าร้อง. ถนฺ เทวสทฺเท, โต, อิอาคโม. วิ. ถนียเตติ ถนิตํ.
สมตฺถน : (นปุ.) ความสำเร็จ, ความตกลง, ความสามารถ. ยุปัจ. ส. สมรฺถน., สมรฺถนา.