ถูปารห : ค. ผู้ควรแก่สถูป, ผู้สมควรแก่การที่ประชาชนจะสร้างสถูปไว้บูชา
ถูปารหปุคคล : (ปุ.) บุคคลผู้ควรแก่สถูป, บุคคล ที่ควรนำอัฐิบรรจุสถูป. บุคคลที่ ควรนำอัฐิมาบรรจุสถูป มี ๔ ประเภท คือ พระพุทธเจ้า ๑ พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑ พระอรหันตสาวก ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ ๑.
ถูลงฺค : ค. ผู้มีอวัยวะ (แขนขา) อ้วนใหญ่
ถูลิย : (วิ.) เต็ม, อ้วน, ฯลฯ.
ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
ปมชฺชติ : ก. ประมาท, มัวเมา, เลินเล่อ, เผลอสติ, ปล่อยปละละเลย; ลูบคลำ, ลูบไล้, ถู; เช็ด, ถูออก
ปุญฺฉติ : ก. เช็ด, ถู, ชำระ, กวาด
มกฺเขติ : ก. ทา, เจิม, ถู, เช็ด
สมฺพาหติ : ก. นวด, ถู
สมฺมชฺชติ : ก. กวาด, ถู
อโนมชฺชติ : ก. ลูบ, ถู, ขัดสี
อภิมตฺถติ, อภิมตฺเถติ : ก. ผ่า, ตัด, ทำลาย, ถู, เสียดสี
อามสติ : ก. แตะต้อง, ลูบคลำ, ถู
อุพฺพฏเฏติ : ก. ขัดสี, ถู, ชำระ
โอปุญฺฉติ : ก. ทำให้เป็นกอง, ตะล่อม, ห่อ; ทา, ถู, เช็ด, ล้าง, ขัด
กตฺถูริกา : (อิต.) ชะมด. กตฺถฺ สิลาฆายํ, อูโร, อิอาคโม, สกตฺเถ โก, อิตฺถิยํ อา.
โกธาภิถู : (วิ.) ผู้ครอบงำความโกรธ. เป็นฝ่ายดี. ผู้อันความโกรธครอบงำ. เป็นฝ่ายชั่ว.
ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
กกฺกน : (วิ.) ขัดสี, ถูตัว.
กลีร กฬีร : (ปุ.) ไม้ที่งอก, หน่อไม้ (ที่งอกจาก หัวหรือเหง้า), ยอดไม้, หยวกกล้วย. วิ. อเนน ถูลาทิ กลียตีติ กลีโร. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร.
ฆสน : (นปุ.) การขัด, การสี, การเช็ด, การถู, การเคี้ยว, การกิน, การเคี้ยวกิน. ยุ ปัด
ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
นหานจุณฺณ : นป. จุณสำหรับอาบน้ำ, เครื่องลูบไล้, เครื่องทา, ผงสำหรับถูตัวเวลาอาบน้ำ
นิฆส : ป. การถู, ขัดสี, เสียดสี
นิฆสติ : ก. ถู, ขัดสี, เสียดสี, ทำให้สะอาด
ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
ปริมชฺชก : ป. ผู้ขัด, ผู้ถู, ผู้นวด
ปริมชฺชติ : ก. ถู, ทุบ, นวด; กวาด, ขัด
ปริมชฺชน : นป. การถู, การ กวาด; การนวด
ปริมฏฺฐ : กิต. ถู, ทุบ, นวด; กวาด
ปาสาณคุฬ : ป. ก้อนหินกลมๆ เกลี้ยงเกลาสำหรับถูตัว
ปิฏฺฐิปริกมฺม : นป. การนวดหลัง (โดยวิธีถูไปถูมา)
ปุญฺฉน : นป., ปุญฺฉนี อิต. การเช็ด; การถู, การชำระ, การกวาด; ผ้าเช็ดตัว
ปุณฺฑติ : ก. ถู, ขูด, ขัด, บด
ปุถุปาณิก, - ณิย : นป. การถูหลังด้วยมือ
สมฺพาหน : นป. การนวด, การถู
สมฺมชฺชน : (นปุ.) การทำให้สะอาด, การทำความสะอาด, การชำระ, การกวาด, การเช็ด, การถู. สํปุพฺโพ, มชฺชฺ โสเจยฺเย, ยุ, อ.
สมฺมชฺชา : (อิต.) การทำให้สะอาด, การทำความสะอาด, การชำระ, การกวาด, การเช็ด, การถู. สํปุพฺโพ, มชฺชฺ โสเจยฺเย, ยุ, อ.
อนุมชฺชติ : ก. ถู, สี, ขัดสี, ลูบ, ทุบตี
อนุมชฺชน : นป. การถู, การสี, การลูบ, การตี
อภิมนฺถติ, อภิมนฺเถติ : ก. ถู, ขยำ, กวน
อมนฺถมาน : กิต. ไม่สีอยู่, ไม่ถูอยู่
อวเลขนกฏฺฐ : นป. ไม้ชำระ, ไม้สำหรับขัดถู
อามสน : นป. การแตะต้อง, การลูบคลำ, การถู
อุคฺฆเสติ : ก. ถู, บด, ขัด, สี
อุจฺฉาเทติ : ก. ถู, สี
อุทกทนฺตโปณ : นป. น้ำสำหรับล้างหน้าและปากและไม้ถูฟัน