Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถ่อย , then ถอย, ถ่อย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ถ่อย, 40 found, display 1-40
  1. ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
  2. ชมฺม : (วิ.) ต่ำ, เลว, ถ่อย, ทราม, ลามก, ผู้ไม่ ใคร่ครวญในคุณและโทษแล้วทำ. วิ. คุณ โทเส อนิสมฺม โย กโรติ โส ชมฺโม.
  3. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  4. นิกิฏฺฐ : (วิ.) ชั่ว, ชั่วช้า, เลว, ต่ำ, ต่ำช้า, โหด, ถ่อย. นิปพฺโพ นินฺทายํ, กิฏ คติยํ, โฐ.
  5. ฏิย : (วิ.) ถ่อย, ง่อย. ฏุ อภิเปฬเน, อิโย.
  6. นิรยาปถ : (ปุ.) คนถ่อย, คนเปลือย.
  7. วสล : ป. คนชั่ว, คนถ่อย
  8. วสลี : อิต. หญิงชั่ว, หญิงถ่อย
  9. อวช : ป. คนโหด, คนถ่อย, คนป่า
  10. อวสล : ค. คนชั่ว, คนถ่อย
  11. โอน : (วิ.) หย่อน, พร่อง, ไม่เต็ม, ถอย. อูนฺ ปริหานิเย, โณ.
  12. ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
  13. ปจฺโจสกฺกติ : ก. ล่าถอย, ถอยกลับ, ถอยออกมา
  14. ปจฺโจสกฺกน : นป. การล่าถอย, การถอยกลับ, การถอยออกมา, การหด
  15. ปฏิกฺกนฺต : กิต. ก้าวกลับแล้ว, ถอยกลับแล้ว, กลับมาแล้ว
  16. ปฏิกฺกนฺตก : ค. ผู้ก้าวกลับแล้ว, ถอยกลับแล้ว, กลับมาแล้ว
  17. ปฏิกฺกม : ป. การถอยกลับ, การกลับไป, การหลีกออกไป, การเลิกรา
  18. ปฏิกฺกมติ : ก. ถอยกลับ, กลับมา, กลับไป, หลีกออกไป
  19. ปฏิกสฺสติ : ก. ถอยกลับ, โยนกลับ
  20. ปฏิกุฏติ : ก. งอ, โก่ง, บิด, หด, กระตุก; ถอยกลับ, หน่าย
  21. ปฏิลีน : ค. หลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  22. ปฏิลียติ : ก. หลบหลีก, ถอยหนี, (จิต) หดหู่, ย่อหย่อน
  23. ปฏิลียน : นป. การหลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  24. ปฏิสกฺกติ : ก. วิ่งกลับ, ถอยหลัง
  25. ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
  26. ปฏิสหรติ : ก. ถอยกลับ, เคลื่อนออก, ถอดออก, นำออกไป, พับ, เก็บ, รวบรวม
  27. ปริกสฺสติ : ก. ย่อมลาก, ย่อมกวาดล้าง, ย่อมถอยกลับ
  28. พฺยปคต : ค. จากไป, ไล่ไป, ดันถอยไป
  29. ลุญฺจติ : ก. ลากออก, ดึงออก, ถอยขึ้น
  30. อทีน : (วิ.) ผู้ไม่ย่อหย่อน, ผู้ไม่ถอยหลัง, ผู้ไม่ถอยกลับ.
  31. อนุสกฺกติ : ก. ถอยไป, ถอยมา, ไป ๆ มา ๆ
  32. อปกฺกม : (ปุ.) การหนี, การถอยหนี, การล่าถอยวิ.อปวชฺเชตฺวากมนํอปกฺกโม.ส. อปกฺรมอปกฺรมณ.
  33. อปฺปฏิวาน : ค. ซึ่งไม่ถอยกลับ, อันไม่มีสิ่งใดขัดขวาง, ซึ่งไม่มีอุปสรรค
  34. อปฺปฏิวานีย : ค. ไม่พึงขัดขวาง, ไม่พึงถอยกลับ
  35. อวสกฺกติ : ก. ถอยกลับ
  36. อาวชติ : ก. เคลื่อนที่, ดำเนินไป, กลับ, ถอยคืน
  37. โอสกฺกติ : ก. ถอยกลับ, ดึงกลับ, ล้าหลัง
  38. โอสกฺกน : (นปุ.) ความท้อถอย, ความท้อแท้, ความอ่อนแอ, ความถอยหลัง. โอปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, ยุ.
  39. โอสกฺกนา : กิต. การถอยกลับ, การดึงกลับ, การล้าหลัง
  40. โอสชฺชติ : ก. ปล่อยออกมา, ส่งออก, ถอนออก, ถอยไป
  41. [1-40]

(0.0121 sec)