Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถ้อยคำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ถ้อยคำ, 54 found, display 1-50
  1. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  2. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  3. ภาสิต : (นปุ.) คำอัน...พึงกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, คำกล่าว, คำที่กล่าว, ภาสิต ภาษิต คือคำกล่าวที่มีคติความฟัง คำกล่าวที่เป็นประโยชน์. ภาสฺ+ต ปัจ. อาคม.
  4. วจี : อิต. คำพูด, ถ้อยคำ, คำกล่าว
  5. สมฺมติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ, วิชาว่าด้วยระเบียบ. ติ ปัจ.
  6. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  7. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  8. คทิต : (นปุ.) ถ้อยคำ. คทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โต, อิอาคโม.
  9. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  10. ชปฺป : (ปุ.) คำพูด, คำ, ถ้อยคำ. ชปฺปฺ วจเน, อ.
  11. ลปิต : นป. ถ้อยคำ
  12. สมฺมต : (ปุ.) คำอันบุคคลพึงรู้ตาม, ถ้อยคำอันบุคคลพึงรู้ตาม. วิ. สมฺมนนิตพฺโพติ สมฺมโต. อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ. วิ. สมฺมนนํ สมฺมโต. สํปุพฺโพ, มนฺ โพธเน, ตกฺ ปจฺจโย. ลบที่สุดธาตุและ กฺ กัจฯ ๖๔๓.
  13. อภิลาป : (ปุ.) การร้องเรียก, คำร้องเรียก, ถ้อยคำ.
  14. อาคท : (ปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  15. อาคทน : (นปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  16. อานุปุพฺพิกถา : อิต. ถ้อยคำ หรือเทศนาที่แสดงตามลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ
  17. อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.
  18. กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
  19. กถิกา : อิต. ถ้อยคำ, คำพูด
  20. กิลิฏฐ : ๑. ไตร. ถ้อยคำที่ไม่สมต้นสมปลาย; ๒. กิต. เศร้าหมอง, ไม่สะอาด
  21. กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
  22. กูฏวินิจฺฉยิกถา : อิต. คำวินิจฉัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
  23. จิตฺตกถ, - กถิก, - กถี : ค. ผู้กล่าวถ้อยคำอันวิจิตร, ผู้กล่าวถ้อยคำไพเราะ, ผู้เป็นนักพูดที่ฉลาด, ผู้มีวาทศิลป์, ผู้เป็นนักเทศน์
  24. ฏฏฺฏรี : (ปุ.) คนตลก, คนตลกคะนอง, จำอวด ( การแสดงเป็นหมู่ โดยใช้ถ้อยคำทำให้ ขบขัน). ฏลฺ เวลมฺเพ, อี. เทวภาวะ ฏ ซ้อน ฏฺ แปลง ล เป็น ร.
  25. ติรจฺฉานกถา : (อิต.) ติรัจฉานกถา ( ถ้อยคำที่ ไม่ควรพูด พูดนอกเรื่อง พูดไม่ได้เรื่อง ไม่ได้ราว).
  26. ทุฎฺฐวจน : (นปุ.) ถ้อยคำอันโทษประทุษร้าย แล้ว, คำชั่ว, ถ้อยคำชั่ว.
  27. ทุวจ : (วิ.) ผู้อัน...ว่าได้โดยยาก (ว่ายากสอน ยาก). ทุกฺข+วจฺ ธาตุ อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ข ปัจ. ลบ กฺข. ผู้มีวาจาอันโทษประทุษร้ายแล้ว ทุฏฺฐ+วจ. ผู้มีถ้อยคำชั่ว ผู้มีถ้อยคำหยาบ ทุ + วจ หรือ ทุฏฺฐ+วจ.
  28. ธมฺมกถา : อิต. ธรรมกถา, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม, การสนทนาธรรม
  29. ธมฺมกลา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำอันเป็นธรรม.
  30. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  31. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  32. เปยฺยวชฺช : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงดื่ม, ถ้อยคำอันดูดดื่ม, ถ้อยคำอ่อนหวาน.
  33. เปสุญฺญวาท : (ปุ.) คำส่อเสียด, คำพูดส่อเสียด, ถ้อยคำส่อเสียด, การกล่าววาจาส่อเสียด.
  34. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  35. พหุปฺปท : (วิ.) ผู้รู้ถ้อยคำอันยาจกกล่าว, ผู้โอบอ้อมอารี?
  36. พุทฺธฏีกา : (อิต.) พระดำรัสของพระพุทธเจ้า, ถ้อยคำของพระพุทธเจ้า, พุทธฏีกา.
  37. ภสฺส : (นปุ.) ถ้อยคำ, คำกล่าว, การกล่าว, การพูด. ภสฺส วจเน, อ.
  38. ภารตี : (อิต.) ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, ภารดี.
  39. วจนตฺถ : ป. ความหมายแห่งถ้อยคำ
  40. วาณี : อิต. ถ้อยคำ, ภาษา
  41. สกวาที : ป. ผู้กล่าวถ้อยคำฝ่ายตน
  42. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  43. สมฺโมทน : (นปุ.) ความบันเทิงพร้อม, ความบันเทิงด้วยดี, ความบันเทิงใจ, ถ้อยคำเป็นเครื่องบันเทิงใจ. สํปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ยุ.
  44. สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
  45. สารมฺภกถา : (อิต.) ถ้อยคำอันเป็นไปกับความเริ่มแรก.
  46. สุติ : (อิต.) เวท (ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์ หรือความรู้ทางศาสนา). วิ. สฺยฺยเต ธมฺมํ เอตายาติ สุติ. สุ สวเน, ติ.
  47. หทยงฺคม : (ไตรลิงค์.) ถ้อยคำอันพอใจ, ถ้อยคำอันสบายหู, คำถูกใจ, คำพอใจ, คำจับใจ. วิ. หทยํ มนํ คจฺฉติ ปวิสตีติ หทยงฺคมํ. หทยปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.
  48. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  49. อนฺตรากถา : อิต. ถ้อยคำที่พูดกันในระหว่าง, การสนทนากันในระหว่าง
  50. อริยวตา, อริยวตฺตา : อิต. ผู้กล่าว, ผู้พูดถ้อยคำอันประเสริฐ
  51. [1-50] | 51-54

(0.0148 sec)