ถ : (ปุ.) ภูเขา, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความต้านทานภัย, มงคล. อุ. ถตฺถํ วิหิต- ปณาโม ประณามอันข้าฯตั้งไว้แล้วเพื่อ ความเป็นมงคล. ถุ คติเถริเยสุ. อ. ส. ถ.
ติ ตฺ ถ : (ปุ.) คนที่ควรเคารพ ( มีอาจารย์ เป็นต้น).
ถปติ : (ปุ.) ช่างไม้.ฐา คตินิวุตฺติยํ, ติ.รัสสะ อา เป็น อ ปฺ อาคม แปลง ฐ เป็น ถ ถ้าตั้ง ถปฺ ธาตุ ก็ไม่ต้องลง ปฺ อาคม ลง อ อาคม เพื่อให้ ปฺ เป็น ป.
ถนิต : (นปุ.) ฟ้าร้อง. ถนฺ เทวสทฺเท, โต, อิอาคโม. วิ. ถนียเตติ ถนิตํ.
ถเกติ : ก. กั้น, ปิด
ถนมุข : นป. หัวนม
ถริมา : ป. เตียง, ฟูก, เบาะ
ถรุคฺคห : ค. ผู้ถือดาบ
ถรุสิปฺป : นป. ศิลปะทางอาวุธ, วิชาฟันดาบ
ถวนา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. ถุ อภิตฺถเว ยุ.
ถวิกา : (อิต.) ถุง, ถลก, ถลกบาตร. ถวฺ คติยํ, อิโก.
ถวิร : ค. ถาวร, มั่นคง, แข็งแรง, แก่
ถิ ถี : (อิต.) หญิง, สตรี, สัตรี. วิ. ถียติ คพฺโภ เอติสฺสาติ ถี. ถียติ สงฺฆาตํ คจฺฉติ คพฺโภ เอติสฺสาติ วา ถี. เถ สทฺทสงฺฆาเตสุ, อี. ธา ธราฌณ วา, อี. แปลง ธ เป็น ถ ศัพท์ต้น รัสสะ. ส. สตรี.
กุนฺถ : (ปุ.) กุนถะ ชื่อมดชนิดหนึ่ง, มด, มดดำ. เด็กชาย, กุถิ หึสายํ, อ.
ถี : อิต. หญิง, ผู้หญิง
นิตฺถนาติ : ก. ส่องเสียง, คร่ำครวญ, คราง, ทอดถอน
นิตฺถรก นิตฺกรณก : (วิ.) ผู้ช่วย, ช่วยเหลือ, ผู้รื้อ, ผู้รื้อถอน, ผู้ถอนออก, ผู้ถอนตน ออกจากทุกข์.
นิตฺถรณ : นป. การข้ามไป, การผ่านไป, การก้าวล่วง, การจบลง, การทำสำเร็จ; การทอดถอน, การสลัดทิ้ง
นิตฺถรติ : ก. ข้ามไป, ผ่านไป, ก้าวล่วง, จบลง, ทำสำเร็จ; ทอดถอน, สลัดทิ้ง
มิจฺฉาปถ : (ปุ.) ทางดำเนินผิด, ทางดำเนินที่ผิดจากคำสั่งสอนของศาสนา.
สาตฺถ : ค. มีประโยชน์, มีเนื้อความ
สิตฺถ : (นปุ.) ขี้ผึ้ง, เมล็ด, เมล็ดข้าว, เมล็ดข้าวสุก. วิ. เสจตีติ สิตฺถํ. สิจฺ ปคฆรเณ, โถ. แปลง จ. เป็น ตฺ.
สุคตฺถ : ก. คุ้มครองดีแล้ว
หตฺถิ, - ถี : ป. ผู้มีมือ, ช้างพลาย, ช้างตัวผู้
อวนถ : ค. ไม่มีกิเลส, ปราศจากกิเลส
อสชฺชิตฺถ : ก. (ท่าน) ข้องแล้ว, ติดแล้ว
อสิถรุ : ป. ด้ามดาบ
อาวุตฺถ : กิต. เข้าอยู่อาศัยแล้ว, ถูกผีสิงแล้ว
อุปถจารี : (ปุ.) ชนผู้ประพฤติผิดทางโดยปกติ, ชนผู้มีปกติประพฤติผิดทาง, คนมีการประพฤติผิดทางเป็นปกติ.
อุปถ อุปฺปถ : (ปุ.) ทางแวะ, ทางมิใช่หนทาง (นอกทาง), ทางผิด.
กฐิ น : (วิ.) แข็ง, กักขละ, สาหัส. เลว, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, ด่วน, รีบ. กฐฺ กิจฺฉ ชีวเน, อิโน. แปลง ฐ เป็น ถ เป็น กถิน บ้าง. ส. กฐิน.
กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
กุลตฺถ : (ปุ.) พืชที่ตั้งอยู่ในการพัน, พืชที่เลื้อย- พัน, ถั่วพู. กุล+ถ ซ้อน ตฺ ถ มาจาก ฐา ธาตุ แปลง ฐ เป็น ถ.
โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
จตุตฺถ : (วิ.) ที่สี่ วิ. จตุณฺณํ ปุรโณ จตุตฺโถ. จตุ+ถ ปัจ. ซ้อน ตฺ.
เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
ถล : (นปุ.) ถละ ชื่อของบรรพชา ชื่อของพระ นิพพานเพราะห้วงน้ำคือกิเลสไม่ท่วมทับ, บก, ดอน, ที่บก, ที่ดอน. ถลฺ ฐาเน, อ. ฐา คตินิวุตฺติยํ วา, โล. แปลง ฐ เป็น ถ.
ทนฺตช : (ปุ. นปุ.) อักขระเกิดแต่ฟัน, ทันตชะ ที่เกิดของพยัญชนะ คือ ต ถ ท ธ น ล ส.
ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
ปถวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ, ออาคโม. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว อุ ที่ ปุ เป็น อ อี อิต. อถวา,ปถวติ เอตฺถา ติ ปถวี. ปปุพฺโพ, ถวฺ คติยํ. สพฺพตฺถ ปตฺถ รตีติ วา ปถวี. ปปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, รสฺส โว. รูปฯ ๖๖๐ แปลง ปุถ เป็น ปุถุ, ปถ. ที่เป็น ปฐวี เพราะแปลง ถ เป็น ฐ.
ปถาวี ปถิก : (ปุ.) คนไปในหนทาง, คนไปสู่ หนทาง, คนเดินทาง วิ. ปเถ ปถํ วา คจฺฉตีติ ปถาวี. วี ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ถ เป็น อา. อภิฯ ลง วี ปัจ.รูปฯ และ โมคฯ ลง อาวี ปัจ. ศัพท์ หลัง วิ. เหมือน ปถาวี. อภิฯ ลง อิก ปัจ.รูปฯ ลงณิก ปัจ.
ปธวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว แปลง อุ ที่ ปุ เป็น อ แปลง ถ เป็น ธ อี อิต. รูปฯ ๖๖๐.
สากจฺฉา : (อิต.) การเจรจา, การเจรจากัน, การเจรจากับ, การกล่าวกับ, การสนทนา, การสนทนากัน, การสังสนทนา. วิ. สห สมฺมา วา อวิโรเธน กถา สากจฺฉา(สนทนาโดยชอบโดยไม่ขัดคอกันเลย. สห+กถา+ต ปัจ.แปลง สห เป็น สา ถ เป็น จ ต เป็น ฉ อาอิต. สํปุพฺโพ วา, กถฺ วจเน, โ ณฺย, สํสทฺทสฺส สา, ถฺยสฺส จฺโฉ, อิตฺถิยํ อา.
สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
เอตฺถ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. เอต แปลงมาจาก อิม ถ ปัจ ลบ อ ที่ ต อภิฯ. หรือลง ตฺถ ปัจ. แปลง เอต เป็น เอ.
คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
จน : (อัพ. นิบาต) เมื่อ, บางที. เป็น อสากลฺยตฺ- ถวาจกนิปาต อภิฯน. ๔๒๓.