ทก : (นปุ.) น้ำ. อุทิ เกฺลทเน, ณฺวุ, อุโลโป ส. ทก.
กุลีรปาท, - ทก : ค. (เตียง) มีขาเหมือนก้ามปู
ทายาท, - ทก : ป., ค. ทายาท, บุคคลผู้รับมรดก; ผู้รับมรดก
อุท, - ทก : นป. น้ำ, อุทก
ทกสีตลิก : (นปุ.) จงกลนี. วิ. ทกํ สีตลํ กโรตีติ ทกสีตลิกํ. ณิก ปัจ.
ทกรกฺขส : ป. ผีเสื้อน้ำ
ขุทฺทกนิกาย : ป. ขุททกนิกาย, ชื่อคัมภีร์หมวดที่ห้าแห่งสุตตันตปิฎก
ขุทฺทกปาฐ : ป. ชื่อคัมภีร์เล่มแรกแห่งขุททกนิกาย
อุทกสาฏก อุทกสาฏิก : (นปุ.) อุทกสาฏก คือ ผ้าสำหรับผลัดอาบน้ำ ผ้าอาบน้ำ ผ้าอาบ ของนักบวช ใช้ในฤดูฝน.
อุทฺทก : (ปุ.) อุททกดาบส ชื่อดาบสซึ่ง พระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอน ผนวชใหม่ ๆ และทรงได้อรูปฌานที่ ๔ จากสำนักนี้.
กทฺทโมทก : (นปุ.) น้ำโคลน, น้ำตม, น้ำ เปือกตม.
กลนฺทก : (ปุ.) กระรอก, กระแต. กลทิ อวฺหา- ณโรทเนสุ, ณฺวุ.
กลนฺทกนิวาป : (วิ.) อันเป็นสถานที่ให้เหยื่อ แก่กระแต.
กุฏณฺฑปาทก : (ปุ.) คนเท้าปุก.
กุณฺฑกขาทก : ค. ผู้กินรำข้าว (เป็นอาหาร)
กุณปาท กุณปาทก : (วิ.) ผู้กินซากศพ. กุณ ป ปุพฺโพ, อทฺ ภกฺขเณ, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
กุรุวินฺทก : ป. จุดสำหรับอาบ, แป้งผัดหน้าทาตัวหลังจากอาบน้ำแล้ว
กุลงฺกปาทก : ป. กรอบเชิงฝา
โกตฺถุ, - ทุก :
ป. ดู โกฏฐ
ขฏขาทก : ป. ถ้วยแก้ว; สุนัขจิ้งจอก; กา
ขาทก : ค. ผู้กิน, ผู้อาศัย (อาหาร) เป็นอยู่
ขาโรทก : (นปุ.) น้ำด่าง.
ขุทฺทกนที : อิต. แม่น้ำเล็กๆ, แม่น้ำน้อย
ขุทฺท, ขุทฺทก : ๑. ป., นป. ง้วนผึ้ง, น้ำผึ้ง, ผึ้งตัวเล็ก, ผึ้งหวี่, แมลงวัน;
๒. ค. น้อย, เล็ก, ต่ำ, ยากไร้, ไม่สำคัญ
ขุทฺทานุขุทฺทก : (นปุ.) วัตรน้อย และวัตรน้อย- โดยลำดับ, วัตรน้อยและวัตรใหญ่ (จูฬวตฺ- ตมหาวตฺต) วัตรปฏิบัติน้อยใหญ่, วัตร ปฏิบัติอันเป็นขนบธรรมเนียมอันดีงาม.
คนฺโธทก : (นปุ.) น้ำหอม, น้ำอบ.
จตุปฺปาทก, - ทิก : ค. (คาถา) มีสี่บาท
จนฺทก : (ปุ.) แวว, แววหางนกยูง. จทิธาตุ ณฺวุ ปัจ.
จนฺทกปุปฺผ : (นปุ.) กานพลู.
โจทก : (ปุ.) อาจารย์ผู้โจทก์, ชนผู้ทักท้วง, ชน ผู้ถาม, ชนผู้กล่าวหา, คนผู้ฟ้อง, โจทก์. จุทฺ สํโจทเน, ณฺวุ.
ฉนฺทก : นป. การออกเสียงเลือกตั้ง; การรวบรวมทานเพื่อภิกษุสงฆ์
ฉิทฺทาวจฺฉิทฺทก : ค. มีรอยแตกและรู, มีช่องน้อยช่องใหญ่
เฉทก : ค. ผู้ตัด, ผู้บั่น, ผู้ทอน
ชนปทกถา : อิต. การพูดถึงเรื่องชนบท
ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
ทลิทฺท ทลิทฺทก ทฬิทฺท : (วิ.) จน, ยากจน, เข็ญใจ, ยากไร้, ไร้ทรัพย์, ตกยาก. รูปฯ. ๖๕๕ ทลฺ ทุคฺคติยํ อิทฺโท. อภิฯ ทฬิทฺทฺ ทุคฺคติยํ, อ. ทลฺ วิทารเณ, วา,อิโท, ทฺวิตฺตํ.
ทฺวิปาทก : ค. ซึ่งมีสองเท้า
ทุก : (วิ.) มีปริมาณสอง, มีประมาณสอง. วิ. เทฺว ปริมาณานิ อสฺสาติ ทุกํ.
นนฺทก : (วิ.) ผู้เพลิดเพลิน, ฯลฯ. รูปฯ ลง อ ปัจ. ก สกัด โมคฯ ขาทิกัณฑฺ ๓๕ ลง อก ปัจ.
นนฺท, นนฺทก : ค. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
นิปฺผาทก : ค. ผู้ผลิต, ผู้ประดิษฐ์, ผู้สร้างขึ้น, เครื่องผลิต
นิรุทก นิโรทก : (วิ.) มีน้ำออกแล้ว, ไม่มีน้ำ, ฯลฯ.
นุทก : ค. ผู้ไล่, ผู้ขับ
ปฏิจฺฉาทก : ค. ซึ่งปิดบัง, ซึ่งปกปิด, ซึ่งซ่อนเร้น, ซึ่งอำพราง, ซึ่งลวง
ปฏิปาทก : ป. ผู้ให้สำเร็จ, ผู้จัดแจง, ผู้จัดหา; เชิง (เตียง), ที่รอง (เตียง)
ปนูทก : (วิ.) ผู้บรรเทา, ผู้กำจัด, ผู้ขับไล่. ปปุพฺโพ, นุทฺ เปรเณ, ณฺวุ.
ปาฏิปาทก, - ทิก : ค. (ภัตต์) ที่ถวายในวันขึ้นหรือแรม ๑ ค่ำ
ปาทก : ๑. นป. ฐาน, พื้น;
๒. ค. มีฐาน, มีเท้า, มีพื้น