ทนฺต : (ปุ.) ฟัน, งา, งาช้าง. วิ. ทายติ ภกฺข มเนนาติ ทนฺโต. ทา อวทารเณ, อนฺโต, รสฺโส. ส. ทนฺต,
ทนฺตโปณ ทนฺตโปน : (ปุ.) ไม้ชำระฟัน, ฯลฯ. วิ. ทนฺเต ปุนาติ อเนนาติ ทนฺตโปโณ ทนฺตโปโน วา. ทนฺตปุพฺโพ, ปุ สุทฺธิกรเณ, ยุ.
ทนฺตคีต : (นปุ.) การขับร้องด้วยฟัน, การผิวปาก.
ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
ทนฺตปนฺติ, ทนฺตปาฬิ : อิต. ถ่องแถวแห่งฟัน, ระเบียบแห่งฟัน
ทนฺตโปณ : ป. ไม้สีฟัน, แปรงสีฟัน
ทนฺตภาค : (ปุ.) กระพองช้าง ( ส่วนที่นูนเป็น ปุ่มสองข้างศีรษะช้าง). ตะพอง ก็เรียก.
ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
ทนฺตวกฺกลิก : ป. ชื่อนักบวชจำพวกหนึ่ง
ทนฺตวาส : (ปุ.) ริมฝีปาก.
ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
ทนฺตวิขาทน : นป. การเคี้ยวด้วยฟัน
ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
ทนฺตสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมด้วยฟัน, ความถึงพร้อมแห่งฟัน, ความมีฟันเรียบร้อยสวยงาม
ทนฺตสิร : (ปุ.) เหงือก.
นาคทนฺต : (ปุ.) งาแห่งช้าง,งาช้าง.ส.นาค.ทนฺต.
กกจทนฺต : ป. ซี่หรือฟันเลื่อย
ขณฺฑทนฺต : ค. ผู้มีฟันหัก (ฟันหลุด)
จตฺตาฬีสทนฺต : ค. (มหาบุรุษ) ผู้มีฟันสี่สิบซี่
ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
ทาฐาทนฺต : ป. เขี้ยว
นิทฺทนฺต : นป. ความหลับ
ปุปฺผทนฺต : ป. ชื่อช้างประจำทิศ
ภทนฺต, ภทฺทนฺต : ค. ท่านผู้เจริญ, พระผู้เป็นเจ้า, พระคุณเจ้า (ใช้สำหรับพระสงฆ์)
สุทนฺต : ค. มีฟันงาม, มีงางาม ; ฝึกดีแล้ว
หตฺถิทนฺต : ป., นป. งาช้าง
อตฺตทนฺต : ค. ผู้ฝึกฝนตนเองแล้ว
อนายูทนฺต : กิต. ไม่พยายาม, ไม่ขวนขวาย
อวิวรทนฺต : ค. มีฟันไม่ห่าง, มีฟันเรียบเสมอดี
อสิทนฺต : ป. สัตว์มีฟันเป็นดาบ, จระเข้
อีสาทนฺต : ค. มีงายาวเหมือนงอนไถ (ช้าง)
อุทกทนฺตโปณ : นป. น้ำสำหรับล้างหน้าและปากและไม้ถูฟัน
อุทฺทนฺต : (ปุ.) เชิงกรานไฟ, เตาไฟ.
อุทนฺต : ป. ข่าว
โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.
ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
ทนฺตปวน : (นปุ.) ยาสีฟัน. ทนฺต+ปุ+ยุ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ส. ทนฺตปาวน.
ทนฺตาชิน : (นปุ.) เหงือก. ทนฺต+อชิน.
ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทายเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเคยฺย ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.
ทนฺตจฺฉท ทนฺตจฺฉต : (ปุ.) ริมฝีปาก. ทนฺตปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จสํโยโค, ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ต. ส. ทนฺตจฺฉท.
นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
ทุโนติ : ก. ไหม้
ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
กโปล : (ปุ.) แก้ม, กระพุ้งแก้ม, กำโบล, กโบล. วิ. เกน ชเลน ปูรียเตติ กโปโล. กปุพฺโพ, ปูรฺ ปูรเณ, อโล, รฺโลโป. กปติ ทนฺเต อจฺฉาเทตีติ วา กโปโล. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโล. ส. กโปล.