คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
โอภญฺชติ : ก. ม้วน, งอ, โค้ง, ทบ
ฆฏฺฏน : (นปุ.) การไหว, การสั่น, การรัว, การบุ, การเคาะ, การแคะ, การงัด, การกระทบ. ฆฏฺ ฆฏิ วา จลนฆฏฺฏเนสุ, ยุ.
ชิวฺหาสมฺผสฺส : ป. การกระทบด้วยลิ้น, ความสัมผัสทางลิ้น
ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
ปฏิหนน : นป. การกระทบ, การผลักไส, การกำจัด, การทำลาย
ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
พาธ : ป. การเบียด, การเสียดสี, การกระทบ, การยัดเยียด, การคับแคบ
พาธิ : (ปุ.) การเบียดเบียน, ความเบียดเบียน, การกระทบ, การฆ่า, การทำลาย. หนฺ หึสายํ, ณิ แปลง หนฺ เป็น วธ ทีฆะ อ ที่ ว เป็น อา.
สมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องด้วยดี, การถูกต้อง, การกระทบ, การกระทบกัน, การลูบคลำ, ความถูกต้อง, ฯลฯ. สํปุพฺโพ, ผุส. สมฺผสฺเส, อ. ผุสสฺส ผสฺโส.
หณน หนน : (นปุ.) การกำจัด, ฯลฯ, การกระทบ, ความกำจัด, ความเบียดเบียน. หนฺ หึสายํ, ยุ. ศัพท์ต้นแปลงที่สุดธาตุเป็น ณ. ส. หนน.
อนฺตคณฺฐิ : อิต. ปม, ขอดลำไส้, ไส้ทบ
อนฺตคุณ : (นปุ.) ไส้น้อย, ไส้ทบ.
อนฺตวฏฺฏิ : อิต. ไส้ทบ, ไส้ขด
อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
อาสชฺชน : นป. การกระทบ, การติด, การข้อง
อิภฆาต : ป. การกระทบ, การฆาตกรรม, การทำลาย
อุคฺฆาต : ป. การกระทบ, การถอน
อุคฺฆาติ : อิต. การเขย่า, การกระทบ, ความชนะ
ทิปิ ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง, เสือดาว, ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิ. ศัพท์หลังฑีฆะต้นธาตุ ถ้าตั้ง ทีปฺ ธาตุ ก็ไม่ต้องทีฆะ.
ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง เสือดาว (ผู้ประกาศ ความยิ่งใหญ่ในป่า). ทีปฺ ปกาสเน, อิ.
ทีโป : (ปุ.) ประทีป (ไฟที่มีแสงสว่างเช่น ตะเกียงเป็นต้น). ไฟ, แสงไฟ, โคม, โคมไฟ, ตะเกียง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โณ. ส. ทีป.
ชมฺพุ (พู) ทีป : ป. ชมพูทวีปคือประเทศอินเดีย
ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
ทีปิ, - ปิก : ป. เสือเหลือง, เสือดาว
ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ทิตฺต : (วิ.) สวยงาม, สว่าง, กระจ่าง, ขาว, รุ่งเรือง, ลุกโพลง, ร้อน, เย่อหยิ่ง, ไว้ตัว. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โต.
ทิตฺติ : (อิต.) ความสวยงาม, ฯลฯ. ความรุ่ง เรือง, ไฟ, รัศมี, แสง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ.
ทีธิติ : (อิต.) ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. ทีธฺยตีติ ทีธีติ. ทีธิ ทิตฺติยํ, ติ. ทิปฺปตีติ วา ทีธีติ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ, ปสฺส โธ, อิอาคโม, ทีโฆ. ส. ทีธีติ.
ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
ปทีป : (วิ.) ส่อง ( ฉายแสง ), สว่าง, รุ่งเรือง, ให้รุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, ทีปฺ ทิตฺติยํ, อ.
อุทฺทาป : (ปุ.) เชิงเทิน. วิ. สพฺพเคหานํ วิเสเสน ปกาสนฺโต อุทฺทาโป. อุปุพฺโพ, ทีปฺ ปกาสเน, อ, รโสฺ, อิสฺสา.