ทฺวาร : (นปุ.) ประตู, ปาก, ช่อง, อุบาย, ทาง. ทฺวรฺ สํวรเณ, โณ, อภิธัมมวิภาวินีปท โยชนาเป็น ทฺวารฺ ธาตุ อ. ปัจ. เป็น ทฺวารา
โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
ปทวาร : (ปุ.) วาระแห่งเท้า, ระยะแห่งเท้า, ระยะก้าวเท้า, ชั่วก้าวเท้า ( ก้าวย่าง ).
อุจฺจารมคฺค : (ปุ.) ทางแห่งอุจจาระ, ทวาร หนัก. ส. อุจฺจารมรฺค.
กายวาจาทิ : (วิ.) มีกายกรรมและวจีกรรม เป็นต้น. ลบ กมฺม หลัง กาย, วาจา ออก. มีกายทวาร และวจีทวาร เป็นต้น. ลบ ทฺวาร ออก.
กมฺมทฺวาร : นป. กรรมทวาร, ทางเกิดของกรรม
กรีสมคฺค : ป. ทวารหนัก
กายทฺวาร : (นปุ.) ทางแห่งกาย, ช่องแห่งกาย ช่องคือกาย, ทวารคือกาย, ทางกาย, กายทวาร.
คุตฺตทฺวาร : ค. ผู้มีทวารอันคุ้มครองดีแล้ว
คุตฺตทฺวารตา : อิต. ความเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้ว, การบังคับตนได้
คุท : (นปุ.) ทวารหนัก, วัจมรรค. วิ. คุณาติ ควติ วา กรีส เมเตนาติ คุทํ. คุ กรีสุสฺสคฺเค, โท.
จกฺขุทฺวาร : (นปุ.) ช่องแห่งตา วิ. จกฺขุสฺส ทฺวารจกฺขุทฺวร.ช่องคือตาวิ. จกฺขุ เอว ทฺวารํ จกฺขุทฺวารํ.
จตุทฺวาร : ค. มีทวารสี่, มีสี่ประตู
ฉทฺวาร : นป. ทวารหก, หกประตู, หกช่อง
ฉทฺวาริก : ค. ประกอบด้วยทวารทั้งหก
ฉทฺวาริกตณฺหา : (อิต.) ตัณหาอันเป็นไปใน ทวารหก.
ทฺวารพนฺธน : (นปุ.) ระเบียง วิ. ทฺวารํ พนฺธติ เอตฺถาติ ทฺวารพนฺธนํ.
ทฺวารวตี : (อิต.) ทวาราวดี ชื่อเมือง. ไตร. ๓๒/ ๒๙๕ เป็น ทวารวตี
ทฺวาริก : (วิ.) อันเป็นไปในทวาร.
โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
ปายุ : ป. ทวารหนัก
ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
มโนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็นไปแล้วในมโนทวาร วิ. มโนทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันเป็นไปแล้วในใจ วิ. มนสฺมึ ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสา กตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. การทำด้วยใจ, การทำทางใจ. วิ. มนสา กมฺมํ มโนกมฺมํ.
มโนทฺวาร : นป. มโนทวาร, ทวารแห่งใจ, ทางใจ
วจฺจมคฺค : ป. เวจมรรค, ช่องทวารหนัก
อรุกาย : ป. กายที่มีแผล, คือ ทวารเก้า, มีกายเป็นแผล
อสา : (อิต.) โรคริดสีดวงงอก, โรคริดสีดวงทวาร, โรคเริม.
ทฺวารปาล ทฺวารปาลก ทฺวารฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้รักษาประตู, คนเฝ้าประตู, ยามประตู, นายประตู. ศัพท์หลัง ทฺวาร+ฐ ซ้อน ฏฺ.
ทฺวารพาหา : (อิต.) บานประตู. ทฺวาร+ พาหา.
อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.