ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
ชมฺพุทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อมหาทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ชมฺพุยา ปญฺญาโต ลกฺขิโต ทีโป ชมฺพุทีโป. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๓๖ เป็นชมพูทีป. ส. ชมฺพุทฺวีป.
ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
มหาวิโลกน : (นปุ.) การเลือกเหตุสำคัญ, การตรวจดูเหตุใหญ่, การพิจารณาดูสิ่งใหญ่, มหาวิโลกนะ. มหาวิโลกนะ มี ๕ คือ ๑.กาล จะต้องเป็นช่วงระยะเวลาที่มนุษย์มีอายุขัย ๑๐๐ ปี ๒. ทวีป ต้องเป็นชมพูทวีป ๓. ประเทศต้องเป็นมัชฌิมประเทศ ๔. ตระกูลต้องเป็นกษัตริย์ และ ๕. มารดาต้องเป็นหญิงมีเบญจศีล. พระโพธิสัตว์จึงจะมาอุบัติเพื่อตรัสรู้.
อมรโคยาน : (นปุ.) อมรโคยานะชื่อของทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป.ทวีปทั้ง ๔ คือปุพพวิ-เทหะอมรโคยานะชมพูทีปะ และอุตตรกุรุ
อุตฺตรกุรุ : (ปุ.) อุตตรกุรุ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อูรุ มหนฺต เมตฺถาติ กุรุ. กุ ปาป รุนฺธนฺติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กวิ. อุตฺตโร อุตฺตโม กุรุ อุตฺตรกุรุ.
ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
จตุทฺทีปิก : ค. (มหาเมฆ) อันปกคลุมทวีปทั้งสี่, (พายุฝน) อันพัดแผ่ไปทั่วทั้งสี่ทวีป
จาตุทฺทีป : ค. (กษัตริย์) ผู้ปกครองทวีปทั้งสี่
เจติยปพฺพต : ป. เจติยบรรพต, ชื่อภูเขาเทือกหนึ่งในลังกาทวีปปัจจุบันเรียกว่ามิหินตะเล
ชมฺพุ (พู) ทีป : ป. ชมพูทวีปคือประเทศอินเดีย
ชมฺพูทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อประเทศอินเดีย โบราณ.
ตมฺพปณฺณิทีป : (ปุ.) ทวีปแห่งบุคคลผู้มีฝ่ามือ แดง. ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา.
ทกฺขิณนิกาย :
(ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
มหาทีป : (ปุ.) ทวีปใหญ่, มหาทวีป. ในคัมภีร์ไตรภูมิ มี ๔ คือ ปุพฺพวิเทห อมรโคยาน ชมฺพูทีป อุตฺตรกุรุ.
สีหฬทีป สีหฬทีปก : (ปุ.) ทวีสีหฬ, สีหฬทวีป.
อปรโคยาน : (นปุ.) อปรโคยานะชื่อมหาทวีปที่๒ใน๔. เป็น อมรโคยานบ้าง.
อมรโคยาน, อปรโคยาน : ป. อมรโคยานทวีป (ทวีปตะวันตก)
อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
ทฺวิป ทฺวิรท : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กเรน มุเขน จาติ ทฺวีหิ ปิวตีติ ทวิโป. ทฺวิปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ. เทฺวา รทา ยสฺส โส ทฺวิรโท. ส. ทฺวิป, ทฺวิรท, ทฺวิราป.
ทฺวิป : ป. ช้างพลาย
ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
สมนฺต : (วิ.) รอบ, รอบคอบ, ทั่วไป, ทุกหนทุกแห่ง. ส. สมนฺต.
หินฺตาล : (ปุ.) ลางลิง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามริมแม่น้ำลำคลอง กระไดลิง, บันไดลิง ก็เรียก, เต่ารั้ง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นหมาก ผลเป็นทะลาย เป็นพวง เต่าร้าง หมากต้น ก็เรียก. วิ ปมาณโต ตาลโต หีโน หินฺตาโล. ปทวิปริยาโย, รสฺโส จ.