ปทวี : (อิต.) ทาง, หนทาง. วิ. ปทติ เอตฺถาติ ปทวี. ปทฺ คติยํ, อโว, อิตถิยํ อี. เป็น ปทวิ บ้าง. ส. ปทวิ.
ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
ปทวีติหาร : ป. การย่างก้าว, การก้าว
ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
สีหฬทีป สีหฬทีปก : (ปุ.) ทวีสีหฬ, สีหฬทวีป.
ทฺวนฺท, - ทว : นป., ป. คู่, หมวดสอง, ทวันทวสมาส
พารส : (ไตรลิงค์) สิบสอง. ทวิ+ทส แปลง ทฺวิ เป็น พา ท เป็น ร. รูปฯ ๓๙๖.
ทฺวิชิวฺห : (ปุ.) สัตว์มีลิ้นสอง. งู. คนมีลิ้นสอง หมายถึงคนส่อเสียด. วิ. เทฺว ชิวฺหา ยสฺสโส ทวิชิโวฺห.
โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
ทฺวิ : (ไตรลิงค์) สอง. แปลง ทฺวิ เป็น ทุเว บ้าง. ส. ทฺวิ.
ทุ ทุเว : (ไตรลิงค์) สอง, แปลง ทฺวิ เป็น ทุ. ทุเว. รูปฯ ๓๙๔.
ฆนปทวิ : อิต. ท้องฟ้า
ทวฑาห ทวทาห : (ปุ.) ไฟไหม้ป่า, ไฟป่า.
ทิว : (ปุ.) ทิวะ ชื่อสวรรค์ชื่อที่ ๒ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, เทวโลก, ฟ้า, ชั้นฟ้า, อากาศ, วัน. ทิวุ กีฬายํ, อ. ส. ทิว, ทิวนฺ.
ทิวิ : (วิ.) อันเป็นทิพ, อันเป็นทิพย์.
ทุเว : (อัพ. นิบาต) สอง, แผลงมาจาก ทฺวิ.
เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
เทวี : (อิต.) เทวดาผู้หญิง, เทพธิดา, นางพญา, ราชภริยา, นางกษัตริย์, พระราชเทวี.
ปทวิกฺเขปน : (นปุ.) การย่างไปซึ่งเท้า, การก้าวไปซึ่งเท้า, การย่างเท้าไป, การก้าวเท้าไป .
ปทวิเขป ปทวิกฺเขป : (ปุ.) การย่างไปซึ่งเท้า, การก้าวไปซึ่งเท้า, การย่างเท้าไป, การก้าวเท้าไป .
ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
สทฺทวิทู : ป. ผู้รู้ศัพท์
อุทพินฺทุ อุทวินฺทุ : (นปุ.) หยาดแห่งน้ำ, หยาดน้ำ.
พาวีสติ : (ปุ.) ยี่สิบสอง. ทวิ+วีสติ.
กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
กณฺฑ : (ปุ.) ลูกปืน, ลูกศร, ลูกธนู, ก้าน, ราก, ลำต้น, ท่อน, ท่อนไม้, ไม้เท้า, วรรค, ตอน, หมวด, อวกาศ, โอกาส, รำข้าว. กมฺ ปทวิกฺเขเป, กณฺ วา สทฺเท, โฑ. กณฺฑฺ วา เภทเน, อ. รูปฯ ๖๕๗ กฑิ เฉทเน, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป (ลบ ก ตัว ปัจ.)
กม : (ปุ.) กระบวน, แบบ, ลำดับ. กมุ อิจฺฉา- กนฺตีสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ความก้าวไป. กมุ ปทวิกฺเขเป.
กุนฺต : (ปุ.) หลาว, ทวน, กุ วิย อสิ วิย ปจฺจา มิตฺตานํ สรีรํ ตียตีติ กุนฺโต. กุปุพฺโพ, ติ เฉทเน, อ, นิคฺคหิตาโม. กมตีติ วา กุนฺโต. กมุ ปทวิกฺเขเป, โต, ตสฺส นฺตาเทโส ธาตฺ วนฺตสฺส โลโป, อสฺสุ, กนฺตฺ เฉทเน วา, อสฺส. ส. กุนฺต.
กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
ทฺวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสอง, สององคุลี. วิ. เทฺว องคุลิโย ทฺวงฺคุลํ . ทฺวิ+องคุลิ แปลง อิ เป็น อ.
ทวถุ : (ปุ.) ความร้อน, ความร้อนใน, ความกระหาย, ความกระหายน้ำ. ทวฺ ฑาเห, ทุ ปริตาเป วา, ถุ. รูปฯ ๖๔๕ วิ. ทเวน นิพฺพตฺโต ทวถุ ทวฺ ทวเน, ถุ. ส. ทวถุ.
ทฺวนฺทว : (ปุ.) ทวันทวะ, ทวันทวสมาส.
ทฺวย : (วิ.) สอง, สองอย่าง, (ส่วน) ทั้งสอง, มีส่วนสอง. วิ เทฺว อํสา อสฺส ทฺวยํ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๙.
ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
ทฺวาปญฺญาส : (ไตรลิงค์) ห้าสิบสอง. ทฺวิ+ปญฺญาส แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๙๗.
ทฺวิก : (วิ.) มีปริมาณสอง, มีปริมาณสอง. วิ. เทฺว ปริมาณานิ อสฺสาติ ทฺวิกํ. ก ปัจ.
ทฺวิติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้งและ สิ้นสามครั้ง, สิ้นสองคราวและสิ้นสามคราว, สิ้นสองหนและสิ้นสามหน. วิ. ทวิกฺขตฺตุญฺจติกฺขตฺตุญฺจ ทฺวิติกฺขตฺตุ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสองครั้งและสามครั้ง, ฯลฯ.
ทฺวิปท : (นปุ.) เท้าสอง, สองเท้า. วิ. เทฺว ปทานิ ทฺวิปทํ ทฺวิปทานิ วา.
ทฺวิปท ทฺวิปาท : (วิ.) มีเท้าสอง, มีสองเท้า. วิ. เทฺว ปทา ปทานิ วา ปาทา วา ยสฺส โส ทฺวิปโท ทฺวิปาโท วา. ส. ทฺวิปท.
ทฺวิป ทฺวิรท : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กเรน มุเขน จาติ ทฺวีหิ ปิวตีติ ทวิโป. ทฺวิปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ. เทฺวา รทา ยสฺส โส ทฺวิรโท. ส. ทฺวิป, ทฺวิรท, ทฺวิราป.
ทฺวิรตฺต : (นปุ.) ราตรีสอง, สองราตรี. วิ. เทฺว รตฺติโย ทฺวิรตฺตํ. เอา อิ ที่ ติ เป็น อ รูปฯ ๓๓๔.
ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
ทาว : (ปุ.) ป่า, ฟืน. ทวฺ เฉทเน, โณ. ส. ทาว.
ทิคุณ : (นปุ.) ชั้นสอง, สองชั้น. วิ. เทฺว คุณา ทิคุณํ.
ทิรตฺต : (นปุ.) คืนสอง, สองคืน. วิ. เทฺว รตฺติโย ทิรตฺตํ. รูปฯ ๓๙๔.
ทิรสญฺญู : (ปุ.) สัตว์ลิ้มรสด้วยลิ้นสองแฉก, งู. วิ. ทฺวีหิ ชิวฺหาหิ รสํ ญายตีติ ทิรสญฺญู. ทฺวิรสสทฺทุปทํ, ญา อสฺสารทเน, รู. แปลง ทฺวิ เป็น ทิ เป็น ทฺวิรสญฺญู โดยไม่แปลง ทฺวิ บ้าง.
ทิเรท : (ปุ.) สัตว์มีงาสอง, ช้าง, ช้างพลาย. ทฺวิ+รท แปลง ทฺวิ เป็น ทิ.
ทุก : (วิ.) มีปริมาณสอง, มีประมาณสอง. วิ. เทฺว ปริมาณานิ อสฺสาติ ทุกํ.
ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
ทุธา : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนสองง ทฺวิ+ธาปัจ. วิภาตตัท. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ.