Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทสา , then ทศา, ทส, ทสา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทสา, 92 found, display 1-50
  1. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  2. ติทสาลย : (ปุ.) ติทสาลยะ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, วิ, ติทสานํ เทวานํ อาลโย ฐานํ ติทสาลโย.
  3. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  4. ฉนฺทสา : อิต. วิธีแต่งฉันท์
  5. ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
  6. ติทสาธิปติ : ป. ผู้เป็นใหญ่ในหมู่เทวดา, จอมเทวดา, ท้าวสักกะ
  7. ทส : (ไตรลิงค์) สิบ. ส. ทศน.
  8. ทุทฺทสา : อิต. เคราะห์ร้าย, คราวเคราะห์
  9. ทุทฺทสาปนฺน : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งเคราะห์ร้าย, ผู้ประสพเคราะห์ร้าย
  10. อทฺทกฺขิ, อทฺทส, อทฺทสา : ก. เขาได้เห็นแล้ว
  11. อินฺทสา : ป. ช้างน้าว, ไม้อ้อยช้าง
  12. อินฺทสาล อินฺธสาล : (ปุ.) ไม้อ้อยช้าง, ไม้ ช้างน้าว.
  13. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  14. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  15. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  16. เอกนฺตโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชาย ข้างเดียว วิ. เอกสฺมึ อนฺเต ปริยนฺเต โลมํ ทสา อสฺสตฺถีติ เอกนฺตโลมี. อี ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. รัสสะเป็น เอกนฺตโลมิ บ้าง.
  17. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  18. ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
  19. โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  20. นมฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน. ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ อนฺโตทสา ยสฺส ตํ นนฺตกํ. ก สกัด.
  21. ปตฺติก : (วิ.) ผู้ไปด้วยเท้า. ปทสา คตา อิก สกัด.
  22. ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
  23. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  24. ทสสหสฺส : (นปุ.) พันสิบ, พันสิบหน, สิบพัน, หมื่น. วิ. สหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสหสฺสํ.
  25. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  26. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  27. ทสพลูเปต : (วิ.) ประกอบแล้วด้วยพระ ทศพลญาณ.
  28. ทสวิธ : ค. มีอย่างสิบ, มีสิบชนิด
  29. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  30. ทิส : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู. วิ. ทิสตีติ ทิโส. ทิสฺ อปปีติยํ, อ. ทุสฺสตีติ วา ทิโส. ทุสฺ โทสเน, อ. แปลง อุ เป็น อิ.
  31. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  32. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  33. จตุทส จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยสี่, สิบสี่.
  34. โจทฺทส : ค. สิบสี่
  35. โจทส โจทฺทส : (อัพ. นิบาต) สิบสี่. ดู จุทฺทส.
  36. ทีฆทส : ค. มีชายยาว
  37. โทสี : ค. ผู้มีโทสะ, ผู้โกรธ
  38. โทโส : (อัพ. นิบาต) ราตรี (กลางคืน), ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), หัวค่ำ.
  39. อริยทส : ค. ผู้มีความเห็นอันประเสริฐ
  40. อสมฺปทุฏฺฐ, - โทส : ค. ไม่ถูกประทุษร้าย, ไม่ถูกเบียดเบียน
  41. ขณลย : (ปุ.) ขณลยะ สิบลยะเป็น ขณลยะ (๑ ขณลยะ) ทส ลยา ขณลโย นาม.
  42. จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, ฬ. รูปฯ ๓๙๗.
  43. ตาลีส ตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปล ว่าสี่สิบ ( ทส นี้สำเร็จรูปมาจากสมาสแล้ว) เป็นจตฺตาร ลบ จต เหลือ ตาร แปลง ร เป็น ล ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ ลงโย วิภัตติ แปลง โย เป็น อีส รูปฯ ๒๕๔, ๑๕๖ และ ๓๙๗.
  44. ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
  45. เตรส เตฬส : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น ฬ. รูปฯ ๓๙๖.
  46. ทสกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสิบครั้ง, สิ้นสิบ คราว, สิ้นสิบหน. ทส+กฺขตฺตํ ปัจ. ลงในวารศัพท์. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสิบครั้ง, ฯลฯ.
  47. ทสม : (วิ.) ที่สิบ วิ. ทสนฺนํ ปูรโณ ทสโม. ทส+ม ปัจ. ส. ทศม.
  48. ทสฺส : ค. ดู ทส
  49. ทสสตสหสฺส : (นปุ.) แสนสิบ, แสนสิบหน, สิบแสน, ล้าน, ล้านหนึ่ง, หนึ่งล้าน. วิ. สตสหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสตสหสฺสํ (การคูณด้วยสิบแห่งแสนชื่อว่าล้าน). ลบ คุณิต แล้วแปร ทส ไว้หน้า . รูปฯ ๔๐๐.
  50. ทุทฺทส : (วิ.) อัน...เห็นได้โดยยาก, เห็นยาก, เห็นได้ยาก (ยากที่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จะหยั่งรู้หยั่งเห็น). วิ. ทุกฺเขน ปสฺสิตพฺโพติ ทุทฺทโส. ทุกฺข+ทิสฺ +ข ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทส ลบ กฺข และ ปัจ. ซ้อน ทฺ.
  51. [1-50] | 51-92

(0.0218 sec)