ทห : (ปุ.) สระ (ที่ขังน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเป้นเอง หรือคนขุด), บึง. วิ. อุทกํ ทธาตีติ ทโห. ทหฺ ธารเณ, อ. ทธฺ รเณวา, อ, ธสฺสโห.
ทหติ : ก. ยอมรับ, ถือ, ตั้งไว้, วาง, กำหนด; เผา, ไหม้
ทหรก : ค. เยาว์, หนุ่ม
ทหรกุมาร : (ปุ.) กุมารเด็ก, เด็กเล็ก.
ทหรสามเณร : (ปุ.) ภิกษุหนุ่มและสามเณร.
ทุห : ค. ซึ่งหลั่ง, ซึ่งให้
เทห : (ปุ. นปุ.) กาย,ร่างกาย,ตัว,เนื้อตัว,รูป,รูปร่าง,อัตภาพ.ทิหฺอุปจเย,โณ.
เทหี : (ปุ.) สัตว์, วิ. เทโห อสฺสาคฺถีติ เทหี. อี ปัจ.
โทห : นป. น้ำนม
โทหี : ค. ผู้รีดนม; ผู้อกตัญญู
ปริทหติ : ก. ใส่, นุ่งห่ม
สมาทหติ : ก. ตั้งใจ
อนุทหติ : ก. เผาผลาญ, ทำลาย
อินฺทห : (นปุ.) อาวุธพระอินทร์, สายฟ้า.
อุปทหติ : ก. ให้, จัดหา, ทำ, ตั้งมั่น, เข้าไปตั้งไว้, เข้าไปทรงไว้
นิทหน : (นปุ.) อันเก็บไว้, การเก็บไว้. นิ+ธา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ธา เป็น ทห.
โอทหน : (นปุ.) การตั้งลง, การหยั่งลง. โอปุพฺโพ. ทหฺธารเณ, ยุ. อถวา, ธาธารเณ. แปลง ธา เป็น ทห.
ฉวฑาหก ฉวฬาหก : (ปุ.) สัปเหร่อ (คนผู้ทำ หน้าที่เกี่ยวกับศพ คนผู้ทำหน้าที่เผาศพ) ฉวปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ณฺวุ, ทสฺส โฑ. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ฬ.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
ทาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความเผา, ความไหม้, ความแผดเผา, ความเบียดเบียน. ทหฺ ภสฺมีกรเณ, โณ. ส. ทาห.
ทุทฺธ : (นปุ.) นม, นมสดง วิ. ทุยฺหเตติ ทุทฺธํ. ทุหฺ ปปูรเณ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ที่สุดธาตุ.
ทุหณ ทุหน : (นปุ.) ความเต็ม, ความยินดี. ทุหฺ ปปูรเณ, ยุ.
ทุหิตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ธิดา, บุตรี. วิ. ทุหติ พนฺธเว ปูเรตีติ ทุหิตา. ทุหฺ ปปูรเณ, ราตุ, ราโลโป. อิอาคาโม. หรือลง ริตุ ปัจ. ลบ รฺ.
ปทหน : (นปุ.) อันตั้งอยู่, การตั้งอยู่, ความตั้งอยู่. ปปุพฺโพ, ทหฺ ธารเณ, ยุ.
ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
สนฺเทห : (ปุ.) ความฉงน, ความไม่แน่ใจ, ความสงสัย, สนเท่ห์, สํปุพฺโพ, ทิหฺ อุปจเย, โณ. ส. สนฺเทห.
สนฺโทห : (ปุ.) ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. วิ. สหาวยเวน ทูหยตีติ สนฺเทโห. ทุหฺ ปปูรเณ, โณ. ส. สนฺโทห.
ห : (ปุ.) อาวุธ อุ. อินฺทห อาวุธของพระอินทร์.
อาฬน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาเผา, ป่าช้า. วิ. อาเนตฺวาทหียเตอเตฺรติ อาฬนํ. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ, หฺโลโป.
อาฬหณ อาฬหน : (นปุ.) หลักเป็นที่นำนักโทษ ประหารมาฆ่า, ที่ประหารชีวิต. อาปุพฺโพ, ทหฺ หึสายํ, ยุ.
อาฬหณ อาฬหน อาฬาหณ อาฬาหน : (นปุ.) ป่าช้า วิ. อาคนฺตวา ทหนฺติ อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ. อาเนตฺวา ทหียเต อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. (ที่เป็นที่นำศพมาเผา).