กญฺจนก : ค. เป็นสีทอง, ทอง
จามีกร : (นปุ.) จามีกรชื่อทองอย่าง ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, เครื่องทอง.
ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
นิกฺข : (ปุ. นปุ.) นิกขะชื่อมาตราเงิน๕สุวัณณะเป็น๑นิกขะ,ลิ่ม,แท่ง,ทอง,เครื่องประดับ,การจูบ,การจุมพิต.นิปุพฺโพ,กนฺทิตฺติคตติกนฺตีสุ,อ,นสฺสโข.ส.นิษฺก.
กฏ : (ปุ. นปุ.) ไหล่ภูเขา, ลาดภูเขา, ทอง ปลายแขน, กำไลมือ. กฏฺ คติยํ, อ.
ชาติสุวรณฺณ : (นปุ.) ทองเกิดโดยกำเนิด, ทอง แต่กำเนิด, ทองธรรมชาติ, ทองคำธรรม ชาติ.
สตฺถุวณฺณ : นป. ทอง
หาฏก : นป. ทอง
กงฺกุฏฐก : นป. ดินสีทองสีเงิน
กญฺจ กญฺจน : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. กจฺ ทิตฺติยํ, ทิตฺติยํ, อ, ยุ, นิคฺคหิตาคโม. ส. กาญฺจน.
กญฺจน : นป. ทอง, ทองคำ
กญฺจนคฺฆิก : ป. มาลัยทอง, สายสร้อยทอง
กญฺจนปฏฏ : นป. ผ้าโพกศีรษะหรือมงกุฎที่ทำด้วยทอง
กนก : (นปุ.) ทอง, ทองคำ, กนก. กนฺ ทิตฺติ คติกนฺตีสุ, ณฺวุ. ส. กนก.
กนกคฺค : ค. มียอดหรือหงอนทำด้วยทอง
กนกจฺฉวี : ค. มีผิวเหมือนทอง
กนกตฺตจ : ค. มีหนังเหมือนทอง
กนกตฺถลี : อิต. บ่อทอง, เหมืองทองคำ
กนกปฺปภา : อิต. สีทอง, สีเหมือนทอง
กนกวิมาน : นป. วิมานทอง
กนกสิขรี : ค. มียอดเป็นทอง
กมฺพุ : (ปุ.) ทอง, ทองคำ, ทองปลายแขน, ทองกร, กำไลมือ. กมุ อิจฉายํ, พุ. กมฺพฺ สํวรเณ วา. อุ.
กมฺพุคีวา : (อิต.) คองามคล้ายกรองทอง คือ คอมีปล้อง ๓ ปล้อง เป็นลักษณะอย่าง หนึ่งของมหาปุริสลักษณะ, คอปล้อง. วิ. กมฺพุมเยน อาลิงฺเคน สนฺนิภา คีวา กมฺพุคีวา.
กมฺพุสฺส : นป. เครื่องประดับทำด้วยทอง
กมฺมารปุตฺต : (ปุ.) บุตรของนายช่างทอง, ช่างทอง. กมฺมารปุตฺโต วุจฺจติ สุวณฺณกาโร. ไตร. ๓๐/๗๑๖.
กรณิย : (ปุ.) ถั่วราชมาศ, ถั่วทอง.
กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
กสตาฬ : ป. กังสดาล, โลหะหรือสัมฤทธิ์ที่ใช้ตี, ฆ้องทองสัมฤทธิ์
กสปตฺถริก : ป. พ่อค้าขายภาชนะโลหะหรือทองสัมฤทธิ์
กสภาชน : นป. ภาชนะทองสัมฤทธิ์
กสมย : ค. สำเร็จด้วยทองสัมฤทธิ์
กสโลห : นป. ทองสัมฤทธิ์
กาญฺจน : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. กจฺ ทิตฺติยํ, ยุ, นิคฺคหิตาคโม, ทีโฆ จ. ส. กาญฺจน.
เกยูร : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไล, สร้อย, สาย สร้อย, อิทรธนู (อิน-ธะนู). เก สทฺเท, อูโร, ยฺ อาคโม. เป็นเกยุร ก็มี. ส. เกยูร
จลย : (ปุ.) ด้าย, ทองปลายแขน, กำไลมือ, เส้นทอง.
จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
ชมฺพุ (พู) นท : นป. ทองชมพูนุท, ทองเนื้อดี
ชลทายก : (ปุ.) เต้าน้ำทอง วิ. ชล ททาติ อเนนา ติ ชลทายโก.
ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณ : (นปุ.) การรับทอง และเงิน.
ชาติสุวณฺณ : นป. ทองคำธรรมชาติ, ทองเนื้อดี, ทองแท้
ฏคร : ป. น้ำประสานทอง
ตปนีย : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. วิ. ตปนํ ทาห ทหรตีติ ตปนียํ. ตปนศัพท์ อนีย ปัจ. ลบ น ท้ายศัพท์.
ตาปนีย : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. ดู ตปนีย.
ทลป. : (นปุ.) ทอง, ทองคำ.ทลฺ ทิตฺติยํ, อโป. ส. ทลป.
นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
นิกฺขิก : (ปุ.) พนักงานคลังเงินทอง, เจ้าหน้าที่ การเงิน, เหรัญญิก. วิ. นิกฺเข นิโยโค นิกฺขิโก.
นิธุร : (ปุ.) ทองปลายแขน,กำไลมือ.นิปุพฺโพ, ธุรฺ หุจฺฉเน,อ.
นิยุร : (ปุ.) ทองปลายแขน, กำไรมือ. นิ นเย, อุโร, อิยาเทโส (แปลง อิ เป็น อิย).
เนกฺข : นป. ทองลิ่ม