อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
โตทน : (นปุ.) การเบียดเบียน, การรบกวน, การทิ่มแทง, ความเบียดเบียน, ฯลฯ, ความเจ็บ, ปฏัก.ตุทฺ พฺยถเน, ยุ. ส.โตทน.
ทีน : (วิ.) จน, ยากจน, เข็ญใจ, ยากไร้, ไร้ทรัพย์. ตกยาก. ที ขเย, อีโน. ทีนฺ ทุคฺคตภาเ, อ. ส. ทีน.
ปนูทน : (นปุ.) การบรรเทา, การเคลื่อน, การถอนออก, ความบรรเทา, ฯลฯ, ยุ ปัจ. เป็น ปนุทน โดยไม่ทีฆะบ้าง.
อินฺทน : (นปุ.) ฟืน. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อิ แปลง ธ เป็น ท. นิคคหิตอาคม. อินฺทน
กนฺทน : นป. การร้องไห้, การคร่ำครวญ
กมฺมนิปฺผาทน : นป. การทำงานให้เสร็จ
กสทน : ป. ปรอท
กายวิปฺผนฺทน : นป. ความดิ้นรนทางกาย, ความไหวกาย
ขาทน : (นปุ.) การกัด, การกิน, การกัดกิน, การเคี้ยวกิน. ขาทฺ ภกฺขเณ, ยุ.
คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
คุโฬทน : (ปุ.) ข้าวสุกผสมด้วยน้ำตาลอ้อย วิ. คุเฬน สํสฏฺโฐ โอทโน คุโฬทโน.
โคสีตจนฺทน : (นปุ.) จันทร์เย็นเหมือนน้ำ วิ. โค วิย อุทกํ วิย สีตํ จนฺทนนฺติ โคสีตจนฺทนํ.
จนฺท จนฺทน : (นปุ.) ความสบายใจ, ความสุขใจ
จนฺทนคนฺธี : ค. มีกลิ่นแห่งไม้จันทน์, มีกลิ่นดุจไม้จันทน์
จนฺทนวิเลปน : นป. เครื่องลูบไล้ที่ทำด้วยไม้จันทน์
จนฺทนสาร : ป. แก่นไม้จันทน์
โจทน : (นปุ.) คำตักเตือน, คำทักท้วง, คำโจทน์, การโจทน์, การฟ้อง. ยุปัจ.
ฉทฺทน : (นปุ.) เครื่องมุงหลังคา, หลังคา. ยุ ปัจ.
ฉทฺทนโกฏิ : (อิต.) ที่สุดแห่งหลังคา, ชายคา.
ฉนฺทน : (ปุ.) ความตั้งใจ, ฯลฯ. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, ยุ.
ฉนฺทานูมคิ : (อิต.) ความรู้ตามโดยความพอใจ ความยินยอมตามโดย ความพอใจ, ความเห็นชอบตามด้วยความพอใจ.
ฉินฺทน : นป. การตัด, การทำลาย
เฉท เฉทน : (วิ.) ตัด, โกน, บั่น, ทอน, เฉือน, เชือด, แขวะ, ควัก, ขาด, ทะลุ, แตก, ทำลาย, สลาย. ฉิทิ เทฺวธากรณฉิชฺชเนสุ, อ, ยุ.
เฉทน : (นปุ.) การตัด, ฯลฯ.
เฉทนผาลนวิชฺฌนาทิ : (วิ.) มีอันตัดและอัน ผ่าและอันแทงเป็นต้น.
ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
ติโลทน : ป. ข้าวผสมเมล็ดงา, ข้าวปนเมล็ดงา
ตุทน : นป. การต่ำ, การแทง, การเจาะ
ทนฺตวิขาทน : นป. การเคี้ยวด้วยฟัน
ทนุ : (อิต.) ทนุ ชื่อมารดาอสูร, มารดาของ มานพ. วิ. ทายตีติ ทนุ. ทา อวขณฺฑเน, นุ, รสฺโส.
ทานานุโมทนปุญฺญ : (นปุ.) บุญคือความบันเทิงตามซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนา ซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนาทาน, บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาทาน.
ทิฏฺฐสสนฺทน : ป. การเปรียบเทียบทิฐิด้วยสิ่งที่ตนเห็น, การเปรียบเทียบความคิดเห็น, การสนทนากันเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น
ทิน :
(ปุ.) คนเข็ญใจ, คนยากจน. ทิ ที วา ขเย, อิโน. ดู ทิน ด้วย.
นขเฉทน : (นปุ.) การตัดเล็บ, วัตถุสำหรับตัด ซึ่งเล็บ, มีดตัดเล็บ, แหนบตัดเล็บ.
นนฺทน : (วิ.) สำเร็จ, เพลิดเพลิน, ยินดี, รื่นรมย์, รื่นเริง, สนุก, เป็นที่เพลิดเพลิน, ฯลฯ.
นาฬิโกทน : ป. ข้าวสุกนาฬีหนึ่ง, ข้าวสุกจากข้าวสารทะนานหนึ่ง
นิขาทน : (นปุ.) สว่าน, สิ่ว. นิปุพฺโพ, ขาตฺ ภกฺขเร, ยุ.
นิตฺตทฺทน : นป. ทำให้อ่อนเพลีย
นิตฺตุทน : นป. การเจาะ, การแทง, การตำ, การไช
นิปฺผาทน : (นปุ.) การยัง...ให้สำเร็จ. นิ+ปทฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ และ ยุ ปัจ.
นิมฺมทน : (นปุ.) การย่ำยี, ความย่ำยี. นิปุพฺโพ, มทฺท มทฺทเน, ยุ. ลบ ทฺสังโยค.
นิสูทน : นป. การฆ่าฟัน
ปกฺขนฺทน : นป. การแล่นไป, การกระโดดไป
ปฏิโจทน : นป. การโจทตอบ, การกล่าวโทษตอบ, การติเตียนตอบ