อิริน, อิริณ : นป. ป่าใหญ่, ทะเลทราย, สถานที่แห้งแล้ง
วณฺณุปถ : ป. ทะเลทราย
มรุ : (ปุ.) เทวดา วิ. ทีฆายุกาปิ สมานา มรนฺติ สีเลนาติ มรุ. มรฺ ปาณจาเค, อุ. ภูเขา, ที่กันดารน้ำ, ทะเลทราย.
มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
ชลธิ ชลธี : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล, มหาสมุทร. ศัพท์หลังทีฆะ. ส. ชลธิ.
ชลนิธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล, มหาสมุทร. วิ. ชลานิ นิธียนฺเต อตฺรติ ชลนิธิ. อิ ปัจ. ส. ชลนิธิ.
ตาวิส : (ปุ.) สวรรค์, ทะเล, ลูกสาวพระอินทร์, แผ่นดิน ?
โตยนิธิ : (ปุ.) ขุมแห่งน้ำ, ทะเล, มหาสมุทร.
วาลิกา, วาลุกา : อิต. กรวด, ทราย
สินฺธุ : (ปุ.) ห้วงน้ำ, ทะเล, ประเทศสินธุ. สนฺทฺ ปสเว, อุ, แปลง อ เป็น อิ และแปลง ทฺ เป็น ธฺ. ส. สินธุ.
อิราวต : (ปุ.) แหล่งของน้ำ, ที่อยู่ของน้ำ, ทะเล, เมฆ. อิราปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, อ, สสฺส โต.
ทล : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, สดใส, สดชื่น.
ชลาสย : (ปุ.) บ่อ, สระ, ห้วงน้ำ, ทะเล, ทะเล สาบ. วิ. ชลานํ อาสโย. แปลว่า หม้อน้ำ บ้าง. ส. ชลาศย.
กูปาร : (ปุ.) ทะเล (เต็มด้วยน้ำ มีน้ำเค็ม).
คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
จิตกา : (อิต.) ทราย (ไหลมาสะสม).
ชลาลย : (ปุ.) ที่อยู่คือน้ำ, ที่อยู่ของน้ำ, แม่น้ำ, ทะเล.
ชโลทร : (นปุ.) ท้องน้ำ (พื้นที่หรือบริเวณอัน กว้างใหญ่ของน้ำ), ห้วงน้ำ, แม่น้ำ, ทะเล.
โตยธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล.
ปุลิน : นป. ทราย
มหาสมุทฺท : ป. มหาสมุทร ทะเล
รตนากร : (ปุ.) บ่อเกิดแห่งรตนะ, ทะเล.
วณฺณุ : อิต. ทราย
สมุทฺท : (ปุ.) สมุทร, ทะเล. วิ. สมํ อุทเกน โลณํ เอตฺถาติ สมุทฺโท. สํ สุฏฐุ อุทนฺติ เอตฺถาติ วา สมุทฺโท, สํปุพฺโพ, อุทิ ปสเว, โท. ส. สมุทร.
สาคร : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ไปแห่งน้ำทั้งหลายโดยรอบ, แม่น้ำ, ทะเล. วิ. สคเรหิ ราชกุมาเรหิ นิพฺพตฺโตติ สาคโร. สานํ ธนานํ อากโรติ วา สาคโร. กสฺส โค. สงฺคํ สํสีทนํ ราตีติ วา สาคโร. สงฺคปุพฺโพ, รา อาทาเน, อุ. งฺโลโป, ทีโฆ จ. ศ. สาคร.
สิกตา : (อิต.) ทราย. สิจฺ ฆรเณ, โต. อ. ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง จ เป็น ก อา อิต.
อมฺพุราสิ อมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล. ส. อมฺโภราศิ.
อุทธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ส่วนแห่ง แผ่นดินที่ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล. อุทกปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ, อุทกสฺส อุโท (แปลง อุทก เป็น อุท). ถ้าใช้ อุท เป็นบทหน้า ก็ไม่ ต้องแปลง.
อูมฺมิมาลิ : อิต. ทะเล
อมฺพุราสิอมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล.ส.อมฺโภราศิ.
กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
กุสมุทฺท : ป. ทะเลน้อย
ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
ฆโตท : (ปุ.) ฆโตทะ ชื่อทะเลอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง ดู ขีรณฺณว.
จมร : (ปุ.) จมร จามรี จามจุรี ชื่อสัตว์จำพวก เนื้อทรายขนละเอียด หางยาวเป็นพู่ จมุ อทเน, อโร.
จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
จามร : (นปุ.) พัดทำด้วยขนทราย, จามรชื่อ เครื่องสูงชนิดหนึ่ง สำหรับขบวนพระราช ยาน.
จุลฺลกี : อิต. หมูทะเล; หม้อน้ำ; ฝั่งนั้น
ชลกปิ : ป. หมูทะเล
ตีวร : (ปุ.) ทะเล, สมุทร, พราน, นายพราน. ส. ตีวร.
ทกฺขิณสมุทฺท : ป. ทะเลใต้, มหาสมุทรทางใต้
ทธิมาล : ป., ทธิมาลี อิต. ทะเลนมส้ม, ชื่อมหาสมุทรแห่งหนึ่ง
ทิสากาก : ป. กาบอกทิศ, กาที่เขานำไปกับเรือเพื่อบอกทิศทางบกในเวลาเรืออยู่ในทะเล
ธุนีนาถ : (ปุ.) ทะเล, มหาสมุทร
นิคฺคุณฺฑิ, - ฑี : อิต. ไม้ย่านทราย, พุ่มไม้
นิคุณฺฑี นิคฺคุณฑี : (อิต.) ไม้ย่งทราย, ไม้ ย่านทราย, คนทีสอ, โคนดินสอ ก็เรียก. วิ. นตฺถิ คุณฺฑํ คพฺภพนฺธน เมตสฺสาติ นิคุณฺฑี นิคฺคุณฺฑี วา. เป็น นิคฺโคณฺฑี ก็มี.
ปตฺตาฬหก : (ปุ.) การเล่นตวงทรายด้วยใบไม้.
ปตฺตาฬฺหก : นป. ทะนานทำด้วยใบไม้สำหรับเล่นตวงทราย, การเล่นตวงทราย
ปโปต : (ปุ.) สำเภา เรือสำเภา ชื่อเรือเดินทะเล สมัยโบราณ. โปตเรือเล็ก ปโปตเรือใหญ่ คือเรือสำเภา.