Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทันตะ , then ทนต, ทนฺต, ทันต, ทันตะ, ทันตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตะ, 52 found, display 1-50
  1. ทนฺต : (ปุ.) ฟัน, งา, งาช้าง. วิ. ทายติ ภกฺข มเนนาติ ทนฺโต. ทา อวทารเณ, อนฺโต, รสฺโส. ส. ทนฺต,
  2. ทนฺตโปณ ทนฺตโปน : (ปุ.) ไม้ชำระฟัน, ฯลฯ. วิ. ทนฺเต ปุนาติ อเนนาติ ทนฺตโปโณ ทนฺตโปโน วา. ทนฺตปุพฺโพ, ปุ สุทฺธิกรเณ, ยุ.
  3. ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
  4. ทนฺตคีต : (นปุ.) การขับร้องด้วยฟัน, การผิวปาก.
  5. ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  6. ทนฺตปนฺติ, ทนฺตปาฬิ : อิต. ถ่องแถวแห่งฟัน, ระเบียบแห่งฟัน
  7. ทนฺตโปณ : ป. ไม้สีฟัน, แปรงสีฟัน
  8. ทนฺตภาค : (ปุ.) กระพองช้าง ( ส่วนที่นูนเป็น ปุ่มสองข้างศีรษะช้าง). ตะพอง ก็เรียก.
  9. ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  10. ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
  11. ทนฺตวกฺกลิก : ป. ชื่อนักบวชจำพวกหนึ่ง
  12. ทนฺตวาส : (ปุ.) ริมฝีปาก.
  13. ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
  14. ทนฺตวิขาทน : นป. การเคี้ยวด้วยฟัน
  15. ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
  16. ทนฺตสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมด้วยฟัน, ความถึงพร้อมแห่งฟัน, ความมีฟันเรียบร้อยสวยงาม
  17. ทนฺตสิร : (ปุ.) เหงือก.
  18. ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
  19. ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
  20. นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
  21. นาคทนฺต : (ปุ.) งาแห่งช้าง,งาช้าง.ส.นาค.ทนฺต.
  22. กกจทนฺต : ป. ซี่หรือฟันเลื่อย
  23. ขณฺฑทนฺต : ค. ผู้มีฟันหัก (ฟันหลุด)
  24. จตฺตาฬีสทนฺต : ค. (มหาบุรุษ) ผู้มีฟันสี่สิบซี่
  25. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  26. ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
  27. ทาฐาทนฺต : ป. เขี้ยว
  28. ทุโนติ : ก. ไหม้
  29. นิทฺทนฺต : นป. ความหลับ
  30. ปุปฺผทนฺต : ป. ชื่อช้างประจำทิศ
  31. ภทนฺต, ภทฺทนฺต : ค. ท่านผู้เจริญ, พระผู้เป็นเจ้า, พระคุณเจ้า (ใช้สำหรับพระสงฆ์)
  32. สุทนฺต : ค. มีฟันงาม, มีงางาม ; ฝึกดีแล้ว
  33. หตฺถิทนฺต : ป., นป. งาช้าง
  34. อตฺตทนฺต : ค. ผู้ฝึกฝนตนเองแล้ว
  35. อนายูทนฺต : กิต. ไม่พยายาม, ไม่ขวนขวาย
  36. อวิวรทนฺต : ค. มีฟันไม่ห่าง, มีฟันเรียบเสมอดี
  37. อสิทนฺต : ป. สัตว์มีฟันเป็นดาบ, จระเข้
  38. อีสาทนฺต : ค. มีงายาวเหมือนงอนไถ (ช้าง)
  39. อุทกทนฺตโปณ : นป. น้ำสำหรับล้างหน้าและปากและไม้ถูฟัน
  40. อุทฺทนฺต : (ปุ.) เชิงกรานไฟ, เตาไฟ.
  41. อุทนฺต : ป. ข่าว
  42. โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.
  43. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  44. ทนฺตปวน : (นปุ.) ยาสีฟัน. ทนฺต+ปุ+ยุ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ส. ทนฺตปาวน.
  45. ทนฺตาชิน : (นปุ.) เหงือก. ทนฺต+อชิน.
  46. ทิฏฺฐธมฺมเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอัน... พึง รู้ (เสวย) ในธรรมอัน...เห็นแล้ว, กรรมให้ผลในภพนี้, กรรมให้ผลในปัจจุบัน, กรรมให้ผลทันตาเห็น, กรรมให้ผลเห็น ทันตา.
  47. กโปล : (ปุ.) แก้ม, กระพุ้งแก้ม, กำโบล, กโบล. วิ. เกน ชเลน ปูรียเตติ กโปโล. กปุพฺโพ, ปูรฺ ปูรเณ, อโล, รฺโลโป. กปติ ทนฺเต อจฺฉาเทตีติ วา กโปโล. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโล. ส. กโปล.
  48. กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทายเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเคยฺย ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.
  49. กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
  50. ตินฺทุก : (ปุ.) มะพลับ. ตนุ วิตฺถาเร, อุโก, ทนฺโต ( ลง ทฺ ที่สุดธาตุ ). ติทิ หึสายํ วา, อุ, สญฺญายํ โก.
  51. [1-50] | 51-52

(0.0792 sec)