ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ทิปิ ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง, เสือดาว, ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิ. ศัพท์หลังฑีฆะต้นธาตุ ถ้าตั้ง ทีปฺ ธาตุ ก็ไม่ต้องทีฆะ.
ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง เสือดาว (ผู้ประกาศ ความยิ่งใหญ่ในป่า). ทีปฺ ปกาสเน, อิ.
ทีโป : (ปุ.) ประทีป (ไฟที่มีแสงสว่างเช่น ตะเกียงเป็นต้น). ไฟ, แสงไฟ, โคม, โคมไฟ, ตะเกียง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โณ. ส. ทีป.
อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
อภิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, จำเพาะ, เฉพาะ, เฉพาะหน้า, เหนือ, หนัก.ส.อภิ.
อวตฺถรติ : ก. ปู, ลาด, ทับ, ท่วมท้น
ชมฺพุ (พู) ทีป : ป. ชมพูทวีปคือประเทศอินเดีย
ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
ทีปิ, - ปิก : ป. เสือเหลือง, เสือดาว
เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
คตทฺธ, คตทฺธี : ค. ผู้บรรลุแล้ว, ผู้ถึงทับแล้ว, ผู้มีทางไกลอันถึงแล้ว
ถล : (นปุ.) ถละ ชื่อของบรรพชา ชื่อของพระ นิพพานเพราะห้วงน้ำคือกิเลสไม่ท่วมทับ, บก, ดอน, ที่บก, ที่ดอน. ถลฺ ฐาเน, อ. ฐา คตินิวุตฺติยํ วา, โล. แปลง ฐ เป็น ถ.
ทิตฺต : (วิ.) สวยงาม, สว่าง, กระจ่าง, ขาว, รุ่งเรือง, ลุกโพลง, ร้อน, เย่อหยิ่ง, ไว้ตัว. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โต.
ทิตฺติ : (อิต.) ความสวยงาม, ฯลฯ. ความรุ่ง เรือง, ไฟ, รัศมี, แสง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ.
ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
ทีธิติ : (อิต.) ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. ทีธฺยตีติ ทีธีติ. ทีธิ ทิตฺติยํ, ติ. ทิปฺปตีติ วา ทีธีติ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ, ปสฺส โธ, อิอาคโม, ทีโฆ. ส. ทีธีติ.
ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
ทุกฺโขติณฺณ : ค. ผู้ถูกทุกข์ท่วมทับ, ผู้ถูกทุกข์ครอบงำ, ผู้ตกทุกข์
ปทีป : (วิ.) ส่อง ( ฉายแสง ), สว่าง, รุ่งเรือง, ให้รุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, ทีปฺ ทิตฺติยํ, อ.
สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
อจฺจคา : ก. ถึงทับแล้ว, บรรลุแล้ว
อชฺฌตฺต : (วิ.) อันเป็นไปทับซี่งตน, อันเป็นไปในภายใน, ทับตน, เฉพาะตัว, ส่วนตัวภายใน, อาศัยซึ่งจิตเป็นไป. แปลอตฺตว่าจิต.
อชฺฌตฺตนิลกสิณาทิรูปชฺฌานวส : (ปุ.) อำนาจแห่งการเพ่งซึ่งรูปมีกสิณอันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยสีเขียวอันเป็นไปทับซึ่งตนเป็นต้น.
อชฺฌปฺปตฺตา : ค. ตกทับ, เข้าถึงโดยบังเอิญ
อชฺฌารุหติ : ก. งอกขึ้น, ไต่ขึ้น, บินขึ้น; ท่วมทับ, ครอบงำ, แผ่ไป
อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
อชฺโฌตฺถรติ : ก. ท่วมทับ, ครอบงำ, ปกคลุม
อทูหล : (นปุ.) ฟ้าทับเหว.
อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
อธิปตน : นป. การตกทับ, การกระโดดลง
อธิวจน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวทับ, ชื่อเครื่องกล่าวยิ่ง, คำเรียก, คำร้องเรียก, นาม, ชื่อ.วิ.อธีนํวจนํอธิวจนํ.ส.อธิวจน.
อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
อธิวาสน : (นปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับพร้อม, การรับนิมนต์, การยับยั้ง, ความยับยั้ง, ความอดทน, ความอดกลั้น.ยุปัจ.
อธิวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ทับ, ผู้ยับยั้ง, ผู้อดกลั้น, สิง-สถิต.
อธิสยติ : ก. นอนทับ, พำนัก, อาศัย
อธิสยิต : กิต. นอนทับแล้ว, พำนักแล้ว, อาศัยแล้ว
อปสฺสยิก : ค. เอนลงนอน, เอนทับ
อภินิปชฺชติ : ก. นอนทับ, บรรทม
อภินิปาต, อภินิปาตน : นป. การตกทับ, การตกลงไป, การจู่โจม, การทำลาย
อภินิปาตี : ค. ผู้ตกไป, ซึ่งหล่นลงทับ
อภินิสีทติ : ก. นั่งใกล้, นั่งข้างๆ, นั่งทับ
อวกฺกนฺต : กิต. ก้าวลงแล้ว, ครอบงำแล้ว, ท่วมทับแล้ว
อวตฺถฏอวตฺถต : (วิ.) ลาดทับแล้ว, ท่วมทับแล้ว
อินฺทโคปก : (ปุ.) แมลงเม่า, แมลงค่อมทอง, แมลงทับ.
อุทฺทาป : (ปุ.) เชิงเทิน. วิ. สพฺพเคหานํ วิเสเสน ปกาสนฺโต อุทฺทาโป. อุปุพฺโพ, ทีปฺ ปกาสเน, อ, รโสฺ, อิสฺสา.
โอฆน : นป. การท่วมทับ
โอตฺถฏ : กิต. ลาดทับแล้ว, ปูทับแล้ว, ปิดบังแล้ว
โอตฺถรณ : นป. การปูลาด, การปกคลุม, การท่วมทับ