อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
ป : อ. ทั่ว
อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
สกล : ค. ทั่ว, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น
กิจฺจานุกิจฺจ : (นปุ.) กิจและกิจน้อย, กิจใหญ่ และกิจน้อย, กิจจานุกิจ (การงานทั่ว ๆ ไป การงานน้อยใหญ่).
จกฺกวาลรชฺช : นป. ราชสมบัติในรอบจักรวาล, ความเป็นพระราชาผู้มีอำนาจทั่วจักรวาล
จตุทฺทีปิก : ค. (มหาเมฆ) อันปกคลุมทวีปทั้งสี่, (พายุฝน) อันพัดแผ่ไปทั่วทั้งสี่ทวีป
ทิสาปาโมกฺข : ค. (อาจารย์) ผู้เป็นใหญ่ในทิศ, ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังทั่วทุกทิศ
ทุราชาน : ค. ซึ่งรู้ทั่วถึงได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
ปกต : กิต. ทำทั่วแล้ว
ปกรณ : นป. การทำทั่ว, โอกาส, ตำรา, คัมภีร์
ปการ : ป. การทำทั่ว, วิธี, อาการ, อย่าง, ชนิด
ปญฺญตฺต : กิต. รู้ทั่วแล้ว, ปูแล้ว
ปญฺญาณ : นป. ความรู้ทั่ว, ความปรากฏ
ปญฺญาต : นป. รู้ทั่วแล้ว, ปรากฏแล้ว
ปทิตฺต : ค. ซึ่งไฟติดทั่วแล้ว, ซึ่งลุกโพลง
ปทิปฺปติ : ก. ติดไฟทั่ว, โพลง, ลุกโพลง
ปเทสวสฺสี : ค. (ฝน) ซึ่งตกในที่บางส่วน, (บุคคล) ผู้เป็นดุจฝนตกเฉพาะที่บางส่วน คือให้ทานแก่คนไม่ทั่วหน้า
ปพฺพชติ : ก. ออกไป, ออกบวช, เว้นทั่ว (จากชีวิตการครองเรือน), บวช
ปมุทิต : ค. ผู้บันเทิงทั่ว, ผู้ร่าเริง, ผู้เบิกบานแล้ว
ปริกฺข : (นปุ.) การเห็นทั่ว, การเห็นรอบ, ความเห็นรอบ, การขอความเห็น, การหารือ, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา. ปริพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนํเกสุ, อ. ส. ปรึกษา.
ปุพฺพปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วก่อน, ความประกอบก่อน, ประโยคแรก, บุพประโยค บุรพประโยค (ความพยายามเบื้องต้นของการทำ).
ผรณาปีติ : (อิต.) ปริติอันแผ่ไป, ฯลฯ, ผรณาปีติ ชื่อปีติที่เกิดแล้วทำให้รู้สึกซาบซ่านไปทั่วร่างกาย.
พทร : (วิ.) ทำลายซึ่งความกระวนกระวายอันเป็นไปทั่วแล้ว, อันทำลายซึ่งความเร่าร้อนอันเป็นไปทั่วแล้ว. ปวตฺตปุพฺโพ, ทร วิทารเณ, อ, ลบ วตฺต แปลง ป เป็น พ.
มหานาม : (ปุ.) สลัดได (ต้นไม้มียางเหมือนน้ำนมทั่วต้น สมนฺตทุทฺธ).
สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
สมนฺตทุทฺธ : (ปุ.) ต้นไม้มียางทั่วต้น.
สมฺปชญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ทั่วพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้รอบคอบ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ตัวอยู่เสมอ. วิ. สมฺปชนสฺส ภาโว สมฺปชญฺญํ ณฺย ปัจ.ภาวตัท. ความรู้ทั่วพร้อม, ความรู้รอบคอบ, ความรอบคอบ, ความรู้สึกตัว, ความรู้ตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ. ณฺย ปัจ. สกัด.
สมฺปชาน : (วิ.) รู้ทั่วพร้อม, รู้รอบคอบ, รอบรู้, รู้สึกตัวรู้ตัว. วิ. สมฺปชานาตีติ สมฺปชาโน. สํ ป ปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ, ญาสฺส ชา.
สมฺปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบกันฐ การประจวบกัน, การพบกัน, การประสบ. สํปปุพฺโฑ, ยุชุ โยเค, โณ, ชสฺส โค.
สมฺปหสน : (นปุ.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
สมฺปหสนา สมฺปหสา : (อิต.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
อญฺญ : (วิ.) อันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง.อาปุพฺโพ, ญา อวิโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺสํโยโค.
อญฺญา : (อิต.) พระอรหันตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง, พระอรหันตผล.วิ.ปฐมมคฺคาทีหิทิฎฺฐิมริยาทมนติกฺกมิตฺวาชานิตพฺพาติอญฺญา.รูปราคาทีนํวาปญฺจนฺนํอุทฺธมฺภาคิยสํโยชนานโมธิวเสนมารณโตอญฺญา. อาปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺ สํโยโค.
อญฺย : (นปุ.) พระอรหัตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่ว ถึง, พระอรหัตผล.
อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
อาภรณ : (นปุ.) อลังการเครื่องยังอวัยะให้เต็มทั่ว, เครื่องประดับ, เครื่องแต่ง, เครื่องตกแต่ง, เครื่องแต่งกาย, เครื่องอาภรณ์.วิ.อาภริยเตตนฺตฺยาภรณํ.อาปุพฺโพ, ภรฺธารเณ, ยุ.ส. อาภรณ.
อาโรทน : (นปุ.) การร้องไห้ทั่ว, การครวญครางความครวญคราง, ความโหยหวน.อาปุพฺโพ, รุทฺอสฺสุวิโมจเน, ยุ.
ทฺวนฺท, - ทว : นป., ป. คู่, หมวดสอง, ทวันทวสมาส
ทฺวิ : (ไตรลิงค์) สอง. แปลง ทฺวิ เป็น ทุเว บ้าง. ส. ทฺวิ.
ทุ ทุเว : (ไตรลิงค์) สอง, แปลง ทฺวิ เป็น ทุ. ทุเว. รูปฯ ๓๙๔.
ทวฑาห ทวทาห : (ปุ.) ไฟไหม้ป่า, ไฟป่า.
ทิว : (ปุ.) ทิวะ ชื่อสวรรค์ชื่อที่ ๒ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, เทวโลก, ฟ้า, ชั้นฟ้า, อากาศ, วัน. ทิวุ กีฬายํ, อ. ส. ทิว, ทิวนฺ.
ทิวิ : (วิ.) อันเป็นทิพ, อันเป็นทิพย์.
ทุเว : (อัพ. นิบาต) สอง, แผลงมาจาก ทฺวิ.
เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
เทวี : (อิต.) เทวดาผู้หญิง, เทพธิดา, นางพญา, ราชภริยา, นางกษัตริย์, พระราชเทวี.
ทฺวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสอง, สององคุลี. วิ. เทฺว องคุลิโย ทฺวงฺคุลํ . ทฺวิ+องคุลิ แปลง อิ เป็น อ.