ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
มหาปเทส : (ปุ.) ประเทศใหญ่, มหาประเทศ. คือประเทศที่มีกำลังมาก ทั้งทางการเมือง ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ.
สาวตฺถิ : (อิต.) สาวัตถี ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. สวตฺถสฺส อิสิโน นิวาส นฎฐานตา สาวตฺถิ. สพฺพธน เมตฺถ อตฺถีติ วา สาวตฺถิ (เมืองที่มีทรัพย์ทั้งปวง). แปลง สพฺพธน เป็น สาว+อตฺถิก ลบ อีก ลง อิ ปัจ.
ปุรี : (อิต.) วัง, เมือง, เมืองหลวง, นคร, พระนคร. ปุร+อี อิต.
มณฺฑิร :
(ปุ. นปุ.) เรือน, เรือนหลวง, นคร, เมือง, เมืองหลวง, กรุง, ที่อยู่, มณเฑียร, ดู มนฺทิร ด้วย.
อาสิต : ๑. นป. ที่นั่ง; เมือง;
๒. กิต. ผูกพันแล้ว, รึงรัดแล้ว
อุม : (นปุ.) ป่า, เมือง, ท่าเรือ. อมฺ คติยํ, อ, อสฺสุ. อุปุพฺโพ วา, มกฺ ปาเน, กฺวิ, ลบ กฺ.
กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทายเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเคยฺย ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.
โคปุร : (นปุ.) ประตูเมือง, ซุ้มประตู, ซุ้มประตู เมือง. วิ. คุณฺณํ วาจานํ ปุรํ โคปุรํ.
ฐานีย : (นปุ.) เมือง วิ. ฐานาย หิตํ ฐานียํ, อีย ปัจ.
ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
ติตฺตก : (ปุ.) กระดอม, เทพชาลี, ขี้กา. ทั้ง ๓ ชนิดนี้เป็นไม้เลื้อย ผลมีรสขม ใช้ทำยา ไทย. ติตฺตรสตาย ติตฺตโก. ก สกัด.
ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
ปริโต : (อัพ. นิบาต) โดย...ทั้งปวง, แต่...ทั้ง ปวง, ใน...ทั้งปวง, โดยรอบ. ปริ+โต ปัจ. รูปฯ ๒๘๒ ว่า โต ปัจ. ลงในอรรถ ตติยา ปัญจมี และ สัตตมี.
อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
กจฺฉุผล : (นปุ.) เต่ารั้ง เต่าร้าง ใช้ได้ทั้งสองคำ หมากคัน ก็เรียก.
กฏฐวาหน : นป. พาหนะไม้ ; ชื่อเมืองเมืองหนึ่ง
กตากต : (วิ.) อัน...ทั้งทำแล้วทั้งไม่ทำแล้ว, ทั้งทำแล้วทั้งยังไม่ทำแล้ว.
กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
กปิลวตฺถุ : (นปุ.) เมืองเป็นที่อยู่ของฤาษีชื่อ กปิละ, เมืองชื่อกบิลพัสดุ์, เมืองกบิลพัสดุ์. วิ. อาทิกาเล กปิลนามกสฺส อิสิโน นิวาส นฏฺฐนตฺตา กปิลวตฺถุ.
กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
กสิณ : (วิ.) ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ล้วน. กสฺ คมเน, อิโณ.
กากบาท : (ปุ.) เท้าของกา, กากบาท ใช้เรียก รูปวรรณยุกต์ + เมื่อลงวรรณยุกต์นี้แล้ว ออกเสียงจัตวา และใช้เรียกรูป + (บวก) และรูป X (คูณ) คือใช้เรียกได้ทั้งเครื่อง หมายบวกและเครื่องหมายคูณ.
กาปิลนี : อิต. หญิงชาวเมืองกบิลพัสดุ์
กาปิลวตฺถว : ค. เป็นชาวเมืองกบิลพัสดุ์
กามฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกาม, ความพอใจในกามทั้ง ๕.
กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
กุกฺกุฏวตี : (อิต.) กุกฺกุฏวตี ชื่อเมือง.
กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
กุญฺชรวร : ป. ช้างตัวประเสริฐ, ช้างมิ่งเมือง
กุลาจล : ป. มหาบรรพต, ชื่อรวมของภูเขาใหญ่ทั้งเจ็ด คือเขาสัตตบริภัณฑ์ ซึ่งล้อมรอบเขาพระสุเมรุอยู่
เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
เกวลกปฺป : (ปุ.) การกำหนดทั้งสิ้น, กัปทั้งสิ้น.
โกชว : (ปุ.) โกเชาว์ อาสนะพิเศษทั้งกว้างทั้งยาว, ผ้าลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าโกเชาว์, พรม, เบาะ, เปล.
โกญฺจา : (อิต.) นกกระเรียน.โกญฺจฺ โกฏิลฺยมฺหิ, อ. ใช้ได้ทั้งตัวผู้และตัวเมีย.
โกสินารก : ค., ป. ผู้อาศัยอยู่ในเมืองกุสินารา; ชาวเมืองกุสินารา
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
คณิกา :
อิต. ๑. หญิงงามเมือง, หญิงเพศยา;
๒. ดู คณนา
คณิ คณี โคกณฺณ : (ปุ.) กวาง. ละมั่งก็แปล. งามเมือง, หญิงแพศยา (หญิงหากินใน ทางค้าประเวณี).
คเณรุ : อิต. หญิงงามเมือง, หญิงแพศยา; ช้างพัง
คตปจฺจาคต : (วิ.) ทั้งไปทั้งมา, ทั้งไปทั้งกลับมา.
คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
คิริคพฺพช : นป. ชื่อเมืองหลวงเก่าของแคว้นมคธ