มหาปเทส : (ปุ.) ประเทศใหญ่, มหาประเทศ. คือประเทศที่มีกำลังมาก ทั้งทางการเมือง ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ.
อายุธิก : ป. นักรบ, ทหาร
ปทค : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหาร ราบ. วิ. ปเทหิ คจฺฉตีติ ปทโค. กฺวิ ปัจ.
ทหร : (วิ.) เยาว์, เล็ก, น้อย, หนุ่ม. ส. ทหาร.
ปทาติ : (ปุ.) ทหาร เดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ. วิ. ปเทหิ อตตีติ ปทาติ. ปท ปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ.
ปทิก : (ปุ.) ทหาร เดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ. วิ. ปเทหิ คจฺฉตีติ ปทิโก. อิก ปัจ.
โยธ : (ปุ.) คนรบ, พลรบ, นักรบ, ทหาร. ยุชฺ สมฺปหาเร, โณ.
โขลก : (นปุ.) หม้อ, ไห, กระถาง, หมวดทหาร จอมปลวก, ผลหมาก.
คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
คุมฺพิย : (ปุ.) ทหารผู้อยู่ในกอง, ทหารผู้อยู่ใน ขบวนทัพ.
จมฺมโยธี : ป. ทหารมีเกราะหนัง, พลสวมเกราะหนัง
จมู : (อิต.) เสนา, กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. จมุ อทเน (คมเน), อู อภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น จมุ ฎีกาอภิฯลง อู ปัจ. เป็น จมู. ส. จมู.
จมูนาถ : ป. นายทหารผู้เป็นที่พึ่งแห่งกองทัพ, นายทัพ, นายพล
ชยปาน : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงดื่มในการเป็น ที่ชนะข้าศึก, น้ำดื่มของทหารผู้ชนะ สงคราม, ชัยบาน.
ชาชี : (ปุ.) ทหารกล้าศึก. ชชฺ ยุทฺเธ, ณี.
นาวิกโยธ : (ปุ.) ทหารเรือ.
นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
ปฏิโยธ : ป. นักรบฝ่ายศัตรู, ทหารฝ่ายตรงข้าม, การต่อสู้ของฝ่ายตรงข้าม
ปตฺตการิก : ป. กองทหารราบ, กองทหารเดินเท้า
ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
ปตฺติกาย : ป. กองทหารเดินเท้า, กองทหารราบ
ปตฺติการก : (ปุ.) ทหารราบ, กองเดินเท้า.
ปรเสนา : อิต. ทหารฝ่ายอื่น, กองทัพข้าศึก
พฺยูหติ : ก. ยืนเป็นแถว (คล้ายแถวทหาร)
พลโกฏฺฐก : (นปุ.) เขตทหาร.
พลขณฺฑ : (ปุ.) หมู่แห่งกำลัง, หมู่แห่งพล, กองแห่งกำลัง, กองทหาร, กองทัพ, พลขัณฑ์.
พลคุมฺพ : ป. แถวทหาร
พลฏฺฐ : ป. ทหาร; ทหารองครักษ์; ราชทูต, มหาดเล็ก
พลวาหน : นป. ทหารและยานพาหนะ, กองทัพ
พลากร : (ปุ.) หมู่แห่งกำลัง, กองแห่งกำลัง, กองพล, กองทัพ, กองทหาร.
พลานีก : ค. ซึ่งมีทัพแข็งแรง, มีกำลังทหารแข็งแรง
พลานึก : (ปุ.) ทหาร, กองทหาร, พลานึก.
ภฏเสนา : อิต. ทหารราบ
มหาโยธ : (ปุ.) นายทหารใหญ่.
รถาโรห : ป. ทหารประจำรถ
ราชภฏ : ป. ทหาร, ผู้ที่พระราชาทรงชุบเลี้ยง, ข้าราชการ
วฺยูห : ป. หมู่, กอง, กำลังทหาร
สนฺนทฺธ : (ปุ.) ทหารสวมเกราะ วิ. จมฺเมน สม.มา นทฺธวาติ สนฺนทฺโธ. สํปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โต, ตสฺส ทฺโธ, หฺโลโป. ตสฺส วา โธ, หสฺส โท.
สเสน : ค. พร้อมด้วยทหาร
สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
เสนา : (อิต.) กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. สิ พนฺธเน, โน, อิตฺถิยํ อา. แปลว่า ไพร่พล ก็มี คำกลอนใช้เสนี.
เสนาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในกองทัพ, บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, เสนาธิการชื่อบุคคล ผู้วางแผนการรบของทหาร.
เสนาพฺยูห : ป. กองทหาร; หมู่ทหาร
เสนี : (วิ.) ผู้มีกองทหาร, ผู้มีกองทัพ.
เสนียากร : (ปุ.) หมู่ทหาร, กองทัพ, กองทหาร, แสนยากร.
หยานีก : นป. ทหารม้า, กองทัพม้า
อกฺโขภินี : อิต. สังขยาจำนวนหนึ่งมีศูนย์ ๔๒ ตัว, กองทัพที่มีทหาร ๑๐๙,๓๕๐ คน ม้า ๖๕,๖๑๐ ตัว ช้าง ๒๑,๘๗๐ เชือก และพลรถ ๒๑,๘๗๐ คัน
อนึกฏฺฐ : (ปุ.) ทหารบก, กองรบ.
อสฺสเสนา : อิต. เหล่าทหารม้า, พลม้า