ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
ฉนฺทานูมคิ : (อิต.) ความรู้ตามโดยความพอใจ ความยินยอมตามโดย ความพอใจ, ความเห็นชอบตามด้วยความพอใจ.
ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
ทานคฺค : (นปุ.) ทานอันเลิศ, วิเสสนุต. กัม.
ทานทาย : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน วิ. ทานํ ททาตีติ ทานทาโย. ทานปุพฺโพ, ทา ทาเน, โณ. แปลง อา เป็น อาย.
ทานทายี : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน, ผู้ให้ซึ่งทานโดย ปกติ, ผู้มีอันให้ซึ่งทานเป็นปกติ, ผู้มีปกติให้ซึ่งทาน. ณีปัจ. วิเคราะห์พึงเลียนแบบศัพท์ ธมฺมจารี.
ทานธมฺม : ป. การบำเพ็ญทาน, การเผื่อแผ่, การแบ่งปัน
ทานปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทาน, คนผู้เป็นใหญ่ในทาน, เจ้าของทาน, ทานบดี.
ทานปุญฺญ : นป. บุญอันเกิดแต่การบริจาคทาน
ทานผล : นป. ผลแห่งทาน
ทานสวิภาค : ป. การจำแนกแจกทาน
ทานสวิภาครต : (วิ.) ผู้ยินดีแล้วในการจำแนกซึ่งทาน, ผู้ยินดีในการแจกทาน.
ทานสาลา : อิต. โรงทาน
ทานสีล : (วิ.) ผู้มีทานและศีล, ผู้มีการให้เป็นปกติ, ผู้มีปกติให้.
ทานโสณฺฑ : (วิ.) ผู้ขวนขวายในการให้, ผู้ โอบอ้อมอารี. วิ. ทาเน โสณฺโฑ ปสุโต ทานโสณฺโฑ.
ชีวิตทาน : นป. การให้ชีวิตเป็นทาน, การสละชีวิตเป็นทาน
เทยฺยทาน : (นปุ.) ทานอัน...พึงให้, ฯลฯ, ไทยทาน (ของควรให้ของสำหรับทำทาน).
นิจฺจทาน : นป. การให้ทานเป็นนิตย์
พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
พาหิรทาน : นป. ทานภายนอก, ทานที่มอบให้แก่คนภายนอก (พุทธศาสนา)
อติทาน : นป. ทานอันยิ่ง
อาคนฺตุกทาน : (นปุ.) ทานอันบุคคลพึงถวายแก่ภิกษุผู้จรมา, ทานอันบุคคลพึงให้แก่คนผู้จรมา.
อามิสทาน : นป. อามิสทาน, การให้สิ่งของ
อาหุติ อาหูติ : (อิต.) การให้, ทาน, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่นสรวง.. อาปุพฺโพ, หุ หู วา ทาเน หพฺยปฺปทาเน จ, ติ. ส. อาหุติ.
กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
จีวรทานสมย : ป. สมัยถวายจีวรในจีวรกาล
จีวราทิปจฺจยทาน : (นปุ.) การถวายปัจจัยมีจีวร เป็นต้น.
ชีวิตปริยาทาน : นป. การดับของชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต
ทกฺขิณาทาน : (นปุ.) การให้ของทำบุญ.
ทณฺฑาทาน : นป. การจับท่อนไม้, การจับไม้พลอง
ทานิ : อ. บัดนี้, เดี๋ยวนี้
ทุกฺขนิทาน : นป. เหตุแห่งทุกข์, ต้นเหตุที่ให้เกิดทุกข์
ธมฺมทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งธรรม, การให้ซึ่งความรู้, การให้ธรรม, การให้ความรู้.
นตฺถุกกรณี นตฺถุทาน : (ปุ.) กล้องยานัตถุ์.
นิทฺทาน : นป. การตัดขาด, การเอาออก, การโยกย้าย, การทำลาย
ปฏิทาน : นป. การให้ตอบแทน, รางวัล, การให้คืน, การนำมาคืน
ปตฺติทาน : (นปุ.) การให้ส่วนบุญ. การให้บุญ.
ปติทาน : นป. สิ่งตอบแทน, การให้ตอบ, การคืนให้, การแลกเปลี่ยน
ปหารทาน : นป. การประหาร, การให้ประหาร
ปุปฺผทาน : นป. การให้ดอกไม้, การถวายดอกไม้
ผลทาน : นป. การให้ผล
พลทาน : นป. มีกำลัง, มีอำนาจ
ลญฺจทาน : นป. การให้สินบน
สนฺทาน : (นปุ.) เครื่องผูก, สายป่าน, เชือก, เชือกผูกวัว. สํปุพฺโพ, ทา พนฺธเน, ยุ.
สปทานจารี : ป. ผู้เที่ยวไปตามลำดับ
อคฺคิทาน : (นปุ.) การจุดไฟ, การวางเพลิง.
อตฺตาทาน : (นปุ.) อธิกรณ์, อธิกรณ์ที่ตนถือเอา
อทาน : (นปุ.) การไม่ให้.
อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.