ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
คเมติ : ก. ส่งไป, ให้ไป, เข้าใจ ; รอ
ชานาติ : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ญายติ : ค. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ทสฺสติ : ๑. ก. เห็น, เข้าใจ;
๒. ก. (ขา) จักให้
นายเร : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ปฏิพุชฺฌติ : ก. ตื่น, รู้, เข้าใจ
ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
พุชฺฌติ : ก. รู้, เข้าใจ, รับรู้, ตื่น
สนฺทีเปติ : ก. จุดไฟ, แสดงให้เห็น, เข้าใจ
อธิคจฺฉติ : ก. บรรลุ, เข้าใจ
อวพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, เข้าใจ, ตื่น
อาชานาติ : ก. รู้, เข้าใจ, ทราบ, ตระหนัก
กณฺณสนฺโธวิก : ป. การล้างหู, การทำความสะอาดหู
กตโยคฺค : ค. ผู้ทำความขวนขวายแล้ว
กตาคส : ค. ผู้ทำความชั่ว
กามกร : ป., นป. การทำความใคร่, การตั้งความใคร่
กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
คุณูปการ คุโณปการ : (ปุ.) การอุดหนุนในการทำความดี, การอุดหนุนให้ทำความดี.
จิตฺติการ, - ตีการ : ป. การทำความยำเกรง, การเคารพนับถือ, การยกย่อง, การให้เกียรติ
เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ชวนปญฺญ : ค. มีปัญญาว่องไว, ความเข้าใจได้ไว
ชาน, ชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจ, ความจำได้, ความชำนาญ
ชานาเปติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ให้เข้าใจ
ชานิตุ : ก. การรู้, การเข้าใจ; เพื่ออันรู้, เพื่ออันเข้าใจ
ชานิยา : ก. พึงรู้, พึงทราบ, พึงเข้าใจ
ชีวนชานนฺทกร : (ปุ.) พระอาทิตย์ ( ทำความเบิกบานแก่ดอกบัว).
เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ญตฺวา : กิต. รู้แล้ว, เข้าใจแล้ว, เรียนรู้แล้ว
ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
ตสิณ ตสิน : (วิ.) ผู้ทำความหวาด, ฯลฯ.
ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ตสิตา : (อิต.) ตัณหาผู้ทำความสะดุ้ง, ตัณหา. ตสฺ อุพฺเพเค, โต, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
ทนฺธาภิญฺญา : อิต. การเข้าใจความได้ช้า, การตรัสรู้ช้า
ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
ทิฏฺฐาวิกมฺม : นป. การทำความเห็นให้แจ้ง, การเปิดเผย, สารภาพ
ทิฏฺฐิปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะซึ่งทิฐิ, การเข้าใจในทิฐิ
ทิฏฺฐิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทิฐิ, ผู้บรรลุธรรมด้วยความเห็นถูกต้อง, ผู้เข้าใจในหลักความเห็น
ทิฏฺฐิปรามาส : ป. การลูบคลำด้วยทิฐิ, ความงมงายเพราะทิฐิ, ความเข้าใจผิดไปจากความจริงเพราะความเห็นผิด
ทุชฺชาน : ค. ซึ่งรู้ได้โดยยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
ทุปฺปฏิวิชฺฌ : ค. ซึ่งแทงตลอดได้โดยยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
ทุพฺพิชาน : ค. ซึ่งรู้ได้โดยยาก, ซึ่งรู้ได้ยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
ทุรนุโพธ, - รานุโพธ : ค. ซึ่งรู้ตามได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
ทุราชาน : ค. ซึ่งรู้ทั่วถึงได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
ธมฺมวิทู : ค. ผู้รู้ธรรม, ผู้เข้าใจธรรม, ผู้แตกฉานธรรม
โธปติ : ก. ล้าง, ทำความสะอาด
โธปน : นป. การล้าง, การชำระ, การทำความสะอาด