Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทำความเคารพ, ทำความ, เคารพ , then คารพ, เคารพ, เคารว, ทำความ, ทำความคารพ, ทำความเคารพ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทำความเคารพ, 128 found, display 1-50
  1. สกฺกต : กิต. ทำความเคารพ
  2. จิตฺติการ, - ตีการ : ป. การทำความยำเกรง, การเคารพนับถือ, การยกย่อง, การให้เกียรติ
  3. ปณาม : ป. การนอบน้อม, การไหว้, การกราบไหว้, การทำความเคารพ
  4. นมสฺสติ : ก. นมัสการ, เคารพ, ไหว้
  5. ปฏิมาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, รับใช้, รอคอย
  6. ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
  7. ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
  8. มาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, บูชา
  9. อภิวนฺทติ : กิต. ไหว้, เคารพ, อภิวันท์
  10. อุปติฏฐติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู, เคารพ
  11. สกฺกโรติ : ก. เคารพ
  12. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  13. กณฺณสนฺโธวิก : ป. การล้างหู, การทำความสะอาดหู
  14. กตโยคฺค : ค. ผู้ทำความขวนขวายแล้ว
  15. กตาคส : ค. ผู้ทำความชั่ว
  16. กามกร : ป., นป. การทำความใคร่, การตั้งความใคร่
  17. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  18. ครุกโรติ : ก. เคารพ, นับถือ, ยกย่อง
  19. ครุกาตพฺพ : ค. ซึ่งควรแก่การยกย่อง, ซึ่งควรแก่การเคารพนับถือ
  20. ครุการ : ป. การเคารพ, การยกย่อง
  21. ครุฏฐานิย : ค. ผู้ตั้งอยู่ในตำแหน่งครู, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือและยกย่อง
  22. ครุตฺต : นป., ครุตฺตา อิต. ความเป็นครู, ความเป็นผู้ควรเคารพ, ความเป็นผู้หนัก, ความเป็นของหนัก
  23. ครุธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่ควรเคารพ, ครุธรรม ธรรมหรือสิกขาบท ที่ล่วงละเมิดมิได้.
  24. คุณูปการ คุโณปการ : (ปุ.) การอุดหนุนในการทำความดี, การอุดหนุนให้ทำความดี.
  25. จิตฺติ : (อิต.) การบูชา, ความเคารพ, ความยำ เกรง. จิตฺ ปูชายํ, ติ.
  26. จิตฺติกโรติ, - ตีกโรติ : ก. กระทำความยำเกรง, เคารพยกย่อง, บูชา
  27. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  28. ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
  29. ชีวนชานนฺทกร : (ปุ.) พระอาทิตย์ ( ทำความเบิกบานแก่ดอกบัว).
  30. เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
  31. ฐกฺกุร : นป. สิ่งที่ควรเคารพ, รูปที่ควรเคารพ
  32. ฐกฺกุร : (วิ.) ควรเคารพ, น่าเคารพ. ส. ฐกฺกุร ว่าเทพเจ้าที่นับถือ.
  33. ตสิณ ตสิน : (วิ.) ผู้ทำความหวาด, ฯลฯ.
  34. ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  35. ตสิตา : (อิต.) ตัณหาผู้ทำความสะดุ้ง, ตัณหา. ตสฺ อุพฺเพเค, โต, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
  36. ติ ตฺ ถ : (ปุ.) คนที่ควรเคารพ ( มีอาจารย์ เป็นต้น).
  37. ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
  38. ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
  39. ทิฏฺฐาวิกมฺม : นป. การทำความเห็นให้แจ้ง, การเปิดเผย, สารภาพ
  40. ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
  41. ธมฺมครุ : ค. ผู้เคารพธรรม, ผู้หนักในธรรม
  42. ธมฺมครุ ธมฺมครุก : (วิ.) เคารพซึ่งธรรม, เคารพในธรรม, หนักในธรรม, มีธรรม เป็นที่เคารพ.
  43. ธมฺมคารว : (วิ.) มีความเคารพซึ่งธรรม, ฯลฯ.
  44. โธปติ : ก. ล้าง, ทำความสะอาด
  45. โธปน : นป. การล้าง, การชำระ, การทำความสะอาด
  46. โธวิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การล้าง, การซัก, การชำระ, การทำให้สะอาด, การทำให้หมดจด; เพื่อล้าง, เพื่อซัก, เพื่อชำระ, เพื่อทำความสะอาด, เพื่อให้หมดจด
  47. นครโสธก : ป. ผู้ทำความสะอาดเมือง
  48. นม : (นปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  49. นมกฺการ : นป. การกระทำความนอบน้อม, การไหว้
  50. นมน : (ปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-128

(0.0665 sec)