กณฺณสนฺโธวิก : ป. การล้างหู, การทำความสะอาดหู
กตโยคฺค : ค. ผู้ทำความขวนขวายแล้ว
กตาคส : ค. ผู้ทำความชั่ว
กามกร : ป., นป. การทำความใคร่, การตั้งความใคร่
กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
คุณูปการ คุโณปการ : (ปุ.) การอุดหนุนในการทำความดี, การอุดหนุนให้ทำความดี.
จิตฺติการ, - ตีการ : ป. การทำความยำเกรง, การเคารพนับถือ, การยกย่อง, การให้เกียรติ
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ชีวนชานนฺทกร : (ปุ.) พระอาทิตย์ ( ทำความเบิกบานแก่ดอกบัว).
เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
ตสิณ ตสิน : (วิ.) ผู้ทำความหวาด, ฯลฯ.
ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ตสิตา : (อิต.) ตัณหาผู้ทำความสะดุ้ง, ตัณหา. ตสฺ อุพฺเพเค, โต, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
ทิฏฺฐาวิกมฺม : นป. การทำความเห็นให้แจ้ง, การเปิดเผย, สารภาพ
ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
โธปติ : ก. ล้าง, ทำความสะอาด
โธปน : นป. การล้าง, การชำระ, การทำความสะอาด
โธวิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การล้าง, การซัก, การชำระ, การทำให้สะอาด, การทำให้หมดจด; เพื่อล้าง, เพื่อซัก, เพื่อชำระ, เพื่อทำความสะอาด, เพื่อให้หมดจด
นครโสธก : ป. ผู้ทำความสะอาดเมือง
นมกฺการ : นป. การกระทำความนอบน้อม, การไหว้
นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
ปฏิสารณิยกมฺม : นป. ปฏิสารณียกรรม, กรรมเนื่องด้วยการลงโทษพระภิกษุผู้ทำความผิดต่อคฤหัสถ์โดยให้ไปขอขมาเขา
ปณาม : ป. การนอบน้อม, การไหว้, การกราบไหว้, การทำความเคารพ
ปทหติ : ก. เริ่มตั้ง, ลงมือทำ, ทำความเพียร, พยายาม, เผชิญ, ต้านทาน, มุ่งไปข้างหน้า
ปธานิยงฺค : นป. องค์แห่งพระภิกษุผู้ควรประกอบความเพียร, คุณสมบัติของผู้ที่จะทำความเพียร
ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
ปุกฺกุส : ป. คนเทขยะ, คนทำความสะอาดพื้นที่
ปุถุชฺชนกลฺยาณก : ป. กัลยาณปุถุชน, คนที่พยายามทำความดี
โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
พุทฺธการกธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมอันทำความเป็นพุทธะ, พุทธการกธรรม คือ บารมี ๑๐.
ภสฺสการก : (วิ.) ผู้ทำความอื้อฉาว.
ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
สกฺกต : กิต. ทำความเคารพ
สชฺชน : ๑. นป. การติด, การตกแต่ง, การประดับ;
๒. ป. คนทำความดี
สมฺมชฺชน : (นปุ.) การทำให้สะอาด, การทำความสะอาด, การชำระ, การกวาด, การเช็ด, การถู. สํปุพฺโพ, มชฺชฺ โสเจยฺเย, ยุ, อ.
สมฺมชฺชา : (อิต.) การทำให้สะอาด, การทำความสะอาด, การชำระ, การกวาด, การเช็ด, การถู. สํปุพฺโพ, มชฺชฺ โสเจยฺเย, ยุ, อ.
หิลาท : (วิ.) สบาย, สำราญ, ทำความสบาย, ทำความสำราญ. หิลาทิ สุเข. อ.
อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
อตฺถจริยา : อิต. การบำเพ็ญประโยชน์, การทำความดี
อปราธี : (ปุ.) อาชญากร, คนทำความผิด.
อพฺภุสฺสหนตา : (อิต.) การทำความอุตสาหะ, การโจท.
อวายมต : ค. ไม่ทำความพยายาม
อาจเมติ : ก. ชำระล้าง, ทำความสะอาด
อุรุเวลา : (อิต.) กองทราย, กองทรายใหญ่, แดนทราย, อุรุเวลา ชื่อตำบลที่พระมหา บุรุษไปทำความเพียรและได้ตรัสรู้.
โอณชน : นป. การล้างออก, การทำความสะอาด