อาตุร : (วิ.) เร่าร้อน, เดือดร้อน, ระส่าย, กระ-สับกระส่าย, เจ็บ, ทนทุกขเวทนา (ทั้งกายและใจ), มีโรค.ส.อาตุร.
อาพาธติ : ก. อาพาธ, เจ็บ, ป่วย
กฏุ : ค. แหลมคม, เข้มงวด, เผ็ดร้อน, รุนแรง, เจ็บแสบ
กณฺณสูล : นป. ความเจ็บปวดหู, สิ่งที่ไม่ไพเราะหู
กิลมถ : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเจ็บไข้. กิลมฺ หาสกฺขเย, โถ, อโถ วา.
ขตก : นป. ความเสียหาย, ความบาดเจ็บ
คท : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. คํ วุจฺจติ ทุกฺขํ. ตํ เทตีติ คโท. คปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. คท.
คลปฺปเวธก : นป. ความเจ็บคอ, ความปวดคอ
คิลาน : (วิ.) สิ้นความสำราญ, เจ็บไข้, เป็นไข้, ไม่สบาย.
คิลาน, คิลานก : ค. ผู้เจ็บป่วย, ผู้เป็นไข้; (สิ่งของ) ที่เหมาะกับความป่วยไข้, ที่เหมาะกับโรค
คิลานุปฏฺฐาก : (ปุ.) คนบำรุงคนเจ็บ, ฯลฯ, คนพยาบาลคนไข้, คิลานุปัฏฐาก (ผู้ พยาบาลภิกษุไข้).
เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
ชร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, เป็นไข้, เจ็บไข้, เป็นโรค. ชรฺ วโยหานิ – โรเคสุ, อ. รูปฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ, ส. ชรณ, ชรินฺ.
ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
โตทน : (นปุ.) การเบียดเบียน, การรบกวน, การทิ่มแทง, ความเบียดเบียน, ฯลฯ, ความเจ็บ, ปฏัก.ตุทฺ พฺยถเน, ยุ. ส.โตทน.
ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
เทวทูต : (ปุ.) ทูตของเทวดา, ทูตสวรรค์, ทูต อันเทวดาแสร้งนิมิต, เทวทูต. เทวทูต ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ. เทวทูต ๕ ที่พญายมถามคือ เด็กทารก คนแก่ คนเจ็บ คนต้องโทษ และคนตาย.
นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
ปพาฬฺห : ๑. กิต. (อันเขา) ชักออก, ดึงออก, มาแล้ว;
๒. ค. (อาการเจ็บปวดหรือป่วย) แรง, หนัก, เพียบหนัก
ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
พยาธิ พฺยาธิต : (ปุ.) คนเจ็บ
พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
พวฺหาพาธ : ค. มีอาพาธหนัก, เจ็บหนัก
โพชฺฌงฺค : (ปุ.) ธรรมเป็นองค์แห่งธรรมเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นองค์แห่งญาณเครื่องตรัสรู้, โพชฌงค์ ชื่อ พระปริตรที่พระสงฆ์สวดให้คนเจ็บไข้ฟัง มีธรรมะ ๗ ข้อ.
ยาตนา : (อิต.) การทรมาน, ความทรมาน, ความเจ็บป่วย. ยตฺ นิยฺยาตเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
รุชติ : ก. เสียดแทง, เจ็บปวด
รุชน : นป., รุชา อิต. ความเสียดแทง, ความเจ็บปวด
วฺยาธิ : อิต. ความเจ็บปวด, พยาธิ
เวทนา : อิต. ความรู้สึก, ความเจ็บปวด
เวยฺยาพาธิก : ค. มีความเจ็บปวด
อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
อคิลาน : (วิ.) ไม่เจ็บไข้, ไม่เป็นไข้, ไม่เป็นโรค, สบายดี.
อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
อฏฺฏิ : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, แผล.อฏฺฏ อนาทาเร, อิ.
อนามย : (วิ.) มิใช่คนเจ็บไข้, ไม่มีความเจ็บไข้, มิใช่ความเจ็บไข้, สุข, สบาย, สุขสบาย, เป็นสุข.
อโรคภาว : ป. ความไม่มีโรค, ความไม่เจ็บป่วย
อโรค, อาโรค : ค. ไม่มีโรค, ซึ่งไม่เจ็บป่วย
อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ;
๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์
อากลฺย, อากสฺส : นป. ความไข้, ความเจ็บป่วย, อาพาธ
อาคิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, เจ็บปวด, ไข้, ไม่สบาย
อาตกอาตงฺก : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบายความรำคาญ, ความกังวล, ความห่วงใย, ความเร่าร้อน, ความดือดร้อน, โรค.วิ.อาภุโสตํกตีติอาตํโกอาตงฺโกวา.อาปุพฺโพกติกิจฺฉชีวเน, อ.ส.อาตงฺก.
อาตงฺก : ป. ความเจ็บปวด, ความเป็นผู้ลำบาก
อาตงฺกติ : ก. เป็นอยู่ลำบาก, เจ็บป่วย
อาตงฺกี : ค. เจ็บป่วย, ลำบาก
อาพาธ : (ปุ.) โรคอันเบียดเบียนโดยยิ่ง, ความเบียดเบียนยิ่ง, ความไม่สบาย, ความป่วย, ความป่วยไข้, ความเจ็บไข้, โรค.วิ.อาพาธติจิตฺตํวิโลเฬตีติอาพาโธ.อาปุพฺโพ พาธฺ วิโลฬเน, อ.ส. อาพาธ.
อาพาธิต : กิต. เจ็บไข้แล้ว, ป่วยแล้ว; ถูกข่มเหงแล้ว, ถูกเบียดเบียนแล้ว