Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทิพา , then ทิพ, ทิพา, ทิวา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทิพา, 29 found, display 1-29
  1. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  2. ทิวาสญฺญา : อิต. ทิวาสัญญา, ความสำคัญหมายว่ากลางวัน
  3. ทิวาฎฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่อยู่ในเวลากลางวัน.
  4. ทิวาฏฺฐาน : นป. ที่พักในเวลากลางวัน
  5. ทิวาทิวสฺส : อ. แต่ยังวัน, ทั้งยังวันๆ อยู่
  6. ทิวาวิหาร : ป. การอยู่สำราญในเวลากลางวัน
  7. ทิวาเสยฺยา : อิต. การนอนกลางวัน
  8. ติทิวา - ธาร : (ปุ.) ติทิวาธาระ ชื่อของเขาสุเมรุ ชื่อที่ ๓ ใน ๕ ชื่อ, เขาสุเมรุ. วิ. ติทิวานํ ทฺวินฺนํ เทวโลกานํ อาธาโร ปติฏฺฐาติ ติทิวาธาโร.
  9. ติทิวาธิภู : (ปุ.) ติทิวาธิภู ชื่อพระอินทร์ ชื่อที่ ๑๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ติทิวานํ ทฺวินฺนํ เทวโลกานํ อธิภู ติทิวาธิภู.
  10. ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  11. ขคาทิพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกมีเครื่องผูกแห่ง นกเป็นต้น.
  12. ติทิวาธาร : ป. เขาพระสุเมรุ
  13. ทิวกาล ทิวากาล : (ปุ.) เวลากลางวัน.
  14. ภินฺทิวาฬ : ป. หอก
  15. มจฺฉาทิพนฺธน : (นปุ.) อวน, แห.
  16. อติทิวา : อ. สายมาก, ช้ามาก
  17. ทิวากร : (ปุ.) ตะวัน, ฯลฯ. วิ. ทิวา ทิวสํ กโรตีติ ทิวากโร. อ ปัจ.
  18. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  19. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  20. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  21. ทิพฺพญาณ : (นปุ.) ตาทิพ, ตาทิพย์, ทิพย-เนตร. ส. ทิวฺยเนตฺร.
  22. ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
  23. ทิพฺพโสต : (ปุ. นปุ.) หูทิพ,หูทิพย์(ฟังอะไรได้ยินหมดแม้อยู่ไกล).
  24. ทิวิ : (วิ.) อันเป็นทิพ, อันเป็นทิพย์.
  25. นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
  26. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  27. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  28. อนฺท : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  29. อนฺทุ อนฺทุกา : (อิต.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  30. [1-29]

(0.0130 sec)