Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทิพ , then ทพ, ทิพ, ทิพา, ทิว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทิพ, 32 found, display 1-32
  1. ทิว : (ปุ.) ทิวะ ชื่อสวรรค์ชื่อที่ ๒ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, เทวโลก, ฟ้า, ชั้นฟ้า, อากาศ, วัน. ทิวุ กีฬายํ, อ. ส. ทิว, ทิวนฺ.
  2. ขคาทิพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกมีเครื่องผูกแห่ง นกเป็นต้น.
  3. มจฺฉาทิพนฺธน : (นปุ.) อวน, แห.
  4. ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
  5. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  6. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  7. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  8. ทิพฺพญาณ : (นปุ.) ตาทิพ, ตาทิพย์, ทิพย-เนตร. ส. ทิวฺยเนตฺร.
  9. ทิพฺพโสต : (ปุ. นปุ.) หูทิพ,หูทิพย์(ฟังอะไรได้ยินหมดแม้อยู่ไกล).
  10. ทิวิ : (วิ.) อันเป็นทิพ, อันเป็นทิพย์.
  11. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  12. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  13. อนฺท : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  14. อนฺทุ อนฺทุกา : (อิต.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  15. ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
  16. ทิวฑฺฒ : ไตร. ดู ทิยฑฺฒ
  17. ทิวสนฺตตฺต, - สสนฺตตฺต : ค. ซึ่งถูกแผดเผามาตลอดวัน
  18. ทิวสภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งวัน.
  19. ติทิว : (ปุ.) ติทิวะ ชื่อสวรรค์ ชื่อที่ ๔ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์.
  20. ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ : (วิ.) ที่สองด้วยกึ่ง, ที่สองทั้งกึ่ง, หนึ่งกับครึ่ง, หนึ่งครึ่ง. วิ. อฑฺเฒน ทุติโย ทิยฑฺโฒ. ทิวฑฺโฒ แปลง ทุติย กับ อฑฺฒ เป็น ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ รูปฯ ๓๙๕.
  21. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  22. ติทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ตายไปสู่ สวรรค์ ติทิวํ + คต แปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  23. ทีฆสุรต : (ปุ.) สัตว์ผู้ยินดีในกาลหลับนานใน เวลากลางวัน, สุนัข, หมา. ทิว+ทีฆ+สุป+รต ลบ ทิว และ ป.
  24. กปิล : (ปุ.) กปิละ ชื่อคน ชื่อปลา, โคมีสีแดง,โคแดง, สีดำแดง, สีเหลือง, สีน้ำตาลอ่อน, วิ. อกพิ นีลา ทิวณฺณตฺตํ อคมีติ กปิโล กพิ วณฺเณ, อิโล, พสฺส โป. ส.กปิล.
  25. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  26. กาฬกูฏ : (ปุ.) กาฬกูฏ ชื่อยอดแห่งทิวเขา หิมาลัย และเป็นชื่อของพิษงู, เม็ดดำ ๆ.
  27. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  28. ทิพฺย : (ปุ. อิต.) สัตว์ผู้เกิดในสวรรค์, เทพ, เทวดา. วิ. ทิวิ ภวา ทิพฺยา. ทิวศัพท์ ย ปัจ. รูปฯ ๓๖๓.
  29. ทิวส : (ปุ. นปุ.) วัน,กลางวัน.วิ.ทิพฺพนฺติอสฺมินติทิวโส.ทิวุกีฬายํ,โส.ส.ทิวสทิวน.
  30. ทิวสวลญฺช : (ปุ.) การใช้สอยในวันๆ, ค่าใช้ สอยในวันๆ, ค่าใช้จ่ายในวันๆ, รายจ่ายในวันๆ, รายจ่ายประจำวัน. วิ. ทิวเส ทิวเส วลญฺชิตพฺโพ ทิวสวลญฺโช. ทิวสทิสปุพฺโพ, วลชิ วลญฺชเน, อ. ลบ ทิวส ๑ ศัพท์
  31. อชฺช : (อัพ. นิบาต) บัดนี้, เดี๋ยวนี้, วันนี้, ในวันนี้, ในกาลนี้.วิ.อิมสฺมึ ทิวเส อิมสฺมึกาเล วา อชฺช อิมศัพท์ ชฺชปัจ.แปลงอิมเป็นอ.
  32. อุทฺธเทหิก : (ไตรลิงค์) ทานมีเบื้องบนแห่งกาย, ทานที่ให้เพื่อผู้ตายในวันตาย. วิ. มตทิวเส มตตฺถํ ยํ ปิณฺฑปาตชลาญฺชลฺยาทิทานํ เอตํ ทานํ เทหา อุทฺเธ ภวํ อุทฺธเทหิกํ. ณิก ปัจ.
  33. [1-32]

(0.0694 sec)