Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทิวะ , then ทว, ทิว, ทิวะ, ทิวา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทิวะ, 81 found, display 1-50
  1. ทิว : (ปุ.) ทิวะ ชื่อสวรรค์ชื่อที่ ๒ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, เทวโลก, ฟ้า, ชั้นฟ้า, อากาศ, วัน. ทิวุ กีฬายํ, อ. ส. ทิว, ทิวนฺ.
  2. ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
  3. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  4. ทฺวนฺท, - ทว : นป., ป. คู่, หมวดสอง, ทวันทวสมาส
  5. ทิวาสญฺญา : อิต. ทิวาสัญญา, ความสำคัญหมายว่ากลางวัน
  6. ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
  7. ทิวฑฺฒ : ไตร. ดู ทิยฑฺฒ
  8. ทิวสนฺตตฺต, - สสนฺตตฺต : ค. ซึ่งถูกแผดเผามาตลอดวัน
  9. ทิวสภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งวัน.
  10. ทิวาฎฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่อยู่ในเวลากลางวัน.
  11. ทิวาฏฺฐาน : นป. ที่พักในเวลากลางวัน
  12. ทิวาทิวสฺส : อ. แต่ยังวัน, ทั้งยังวันๆ อยู่
  13. ทิวาวิหาร : ป. การอยู่สำราญในเวลากลางวัน
  14. ทิวาเสยฺยา : อิต. การนอนกลางวัน
  15. ติทิว : (ปุ.) ติทิวะ ชื่อสวรรค์ ชื่อที่ ๔ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์.
  16. ติทิวา - ธาร : (ปุ.) ติทิวาธาระ ชื่อของเขาสุเมรุ ชื่อที่ ๓ ใน ๕ ชื่อ, เขาสุเมรุ. วิ. ติทิวานํ ทฺวินฺนํ เทวโลกานํ อาธาโร ปติฏฺฐาติ ติทิวาธาโร.
  17. ติทิวาธิภู : (ปุ.) ติทิวาธิภู ชื่อพระอินทร์ ชื่อที่ ๑๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ติทิวานํ ทฺวินฺนํ เทวโลกานํ อธิภู ติทิวาธิภู.
  18. ทฺวิ : (ไตรลิงค์) สอง. แปลง ทฺวิ เป็น ทุเว บ้าง. ส. ทฺวิ.
  19. ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ : (วิ.) ที่สองด้วยกึ่ง, ที่สองทั้งกึ่ง, หนึ่งกับครึ่ง, หนึ่งครึ่ง. วิ. อฑฺเฒน ทุติโย ทิยฑฺโฒ. ทิวฑฺโฒ แปลง ทุติย กับ อฑฺฒ เป็น ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ รูปฯ ๓๙๕.
  20. ทุ ทุเว : (ไตรลิงค์) สอง, แปลง ทฺวิ เป็น ทุ. ทุเว. รูปฯ ๓๙๔.
  21. ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  22. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  23. ติทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ตายไปสู่ สวรรค์ ติทิวํ + คต แปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  24. ติทิวาธาร : ป. เขาพระสุเมรุ
  25. ทวฑาห ทวทาห : (ปุ.) ไฟไหม้ป่า, ไฟป่า.
  26. ทิวกาล ทิวากาล : (ปุ.) เวลากลางวัน.
  27. ทิวิ : (วิ.) อันเป็นทิพ, อันเป็นทิพย์.
  28. ทุเว : (อัพ. นิบาต) สอง, แผลงมาจาก ทฺวิ.
  29. เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
  30. เทวี : (อิต.) เทวดาผู้หญิง, เทพธิดา, นางพญา, ราชภริยา, นางกษัตริย์, พระราชเทวี.
  31. ภินฺทิวาฬ : ป. หอก
  32. อติทิวา : อ. สายมาก, ช้ามาก
  33. ทิวากร : (ปุ.) ตะวัน, ฯลฯ. วิ. ทิวา ทิวสํ กโรตีติ ทิวากโร. อ ปัจ.
  34. ทีฆสุรต : (ปุ.) สัตว์ผู้ยินดีในกาลหลับนานใน เวลากลางวัน, สุนัข, หมา. ทิว+ทีฆ+สุป+รต ลบ ทิว และ ป.
  35. กปิล : (ปุ.) กปิละ ชื่อคน ชื่อปลา, โคมีสีแดง,โคแดง, สีดำแดง, สีเหลือง, สีน้ำตาลอ่อน, วิ. อกพิ นีลา ทิวณฺณตฺตํ อคมีติ กปิโล กพิ วณฺเณ, อิโล, พสฺส โป. ส.กปิล.
  36. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  37. กาฬกูฏ : (ปุ.) กาฬกูฏ ชื่อยอดแห่งทิวเขา หิมาลัย และเป็นชื่อของพิษงู, เม็ดดำ ๆ.
  38. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  39. ทฺวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสอง, สององคุลี. วิ. เทฺว องคุลิโย ทฺวงฺคุลํ . ทฺวิ+องคุลิ แปลง อิ เป็น อ.
  40. ทวถุ : (ปุ.) ความร้อน, ความร้อนใน, ความกระหาย, ความกระหายน้ำ. ทวฺ ฑาเห, ทุ ปริตาเป วา, ถุ. รูปฯ ๖๔๕ วิ. ทเวน นิพฺพตฺโต ทวถุ ทวฺ ทวเน, ถุ. ส. ทวถุ.
  41. ทฺวนฺทว : (ปุ.) ทวันทวะ, ทวันทวสมาส.
  42. ทฺวย : (วิ.) สอง, สองอย่าง, (ส่วน) ทั้งสอง, มีส่วนสอง. วิ เทฺว อํสา อสฺส ทฺวยํ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๙.
  43. ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
  44. ทฺวาปญฺญาส : (ไตรลิงค์) ห้าสิบสอง. ทฺวิ+ปญฺญาส แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๙๗.
  45. ทฺวิก : (วิ.) มีปริมาณสอง, มีปริมาณสอง. วิ. เทฺว ปริมาณานิ อสฺสาติ ทฺวิกํ. ก ปัจ.
  46. ทฺวิชิวฺห : (ปุ.) สัตว์มีลิ้นสอง. งู. คนมีลิ้นสอง หมายถึงคนส่อเสียด. วิ. เทฺว ชิวฺหา ยสฺสโส ทวิชิโวฺห.
  47. ทฺวิปท : (นปุ.) เท้าสอง, สองเท้า. วิ. เทฺว ปทานิ ทฺวิปทํ ทฺวิปทานิ วา.
  48. ทฺวิปท ทฺวิปาท : (วิ.) มีเท้าสอง, มีสองเท้า. วิ. เทฺว ปทา ปทานิ วา ปาทา วา ยสฺส โส ทฺวิปโท ทฺวิปาโท วา. ส. ทฺวิปท.
  49. ทฺวิรตฺต : (นปุ.) ราตรีสอง, สองราตรี. วิ. เทฺว รตฺติโย ทฺวิรตฺตํ. เอา อิ ที่ ติ เป็น อ รูปฯ ๓๓๔.
  50. ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
  51. [1-50] | 51-81

(0.0620 sec)