ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
ทรี : (อิต.) ซอกภูเขา, ถ้ำ. ทรฺ ภเย, อี. ทรฺ วิทารเณ วา. เป็น ทริ ก็มี ส. ทร.
กนฺทร : (ปุ.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
สุนฺทร : (วิ.) งาม, ดี, ดีนัก, ชอบใจ, เป็นที่ชอบใจ, เพราะ, ไพเราะ, น่าฟัง, รุ่งเรือง, จรูญ, จำรูญ. วิ. สุฎฐุ ทรียเตติ สุนฺทรํ. สุฎฺฐุปุพฺโพ, ทรฺ อาทเร, อ, ฎฺฐุโลโป. ส. สุนฺทร.
อุนฺทร อุนฺทุร อุนฺทุรุ อุนฺทูร : (ปุ.) หนู วิ. อุนฺทตีติ อุนฺทูโร. อุทิ ปสวนกิเลทเนสุ, อูโร. ส. อุนฺทร อุนฺทรู อุนฺทุรู. อุนฺนต
กกุนฺทร : นป. ถ้ำของสิงโต, ที่อยู่ของสิงโต
กทร กทฺทร : (ปุ.) พยอมขาว, กฤษณา. วิ. อีสํ ขุทฺทกํ ทล เมตสฺสาติ กทโร. ลสฺส โร (แปลง ล เป็น ร).
กลนฺทร : ป. คนที่มีกำเนิดผสม (ลูกครึ่ง)
กาโกทร : (ปุ.) งู.
คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
ททฺทร : (ปุ.) ทัททระ ชื่อภูเขา.
ทูร : (วิ.) ไกล. อภิฯ วิ. ทุกฺเขน อรติ ยํ ตํ ทูรํ. อรฺ คมเน, อ. กัจฯ ๖๗๐ วิ. คมิตํ อลํ อนาสนฺนตฺตาติ ทูโร. รูปฯ ๖๖๔ ทุ คติยํ, อูโร. ส. ทูร.
นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
นิทฺทรราม : (วิ.) มีความหลับเป็นที่มายินดี, ฯลฯ.
ปทรสมาจาร : ค. ผู้มีความประพฤติทราม, ผู้มีมรรยาทหยาบคาย, ผู้ดื้อดึง
ปทรสิลา : อิต. ศิลาเรียบ, แผ่นหินที่ใช้ปูพื้นสำหรับเดิน
ปพฺพตกนฺทร : ป. ซอกเขา, ถ้ำ
ปาทูทร : ป. งู
พทรมิสฺส : ค. ผสมด้วยผลพุทรา
พทรยูส : ป. น้ำคั้นผลพุทรา
มโหทร : (ปุ.) คนท้องใหญ่, คนลงพุง, อึ่งอ่าง, ปาด.
สุนฺทรตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็น...อันงาม.
อจฺโจทร : นป. การกินมาก, ความตะกละ
อชฺฌุปทรติ : ก. กลืนกิน
อินฺทยว อินฺทร : (ปุ.) ไม้มูกหลวง?
อุทโกทร : นป. โรคท้องมาน
อุทรปูร : ค. เต็มท้อง, เต็มกระเพาะ
อูนูทร : ค. มีท้องว่าง, มีท้องพร่อง
พทร : (วิ.) ทำลายซึ่งความกระวนกระวายอันเป็นไปทั่วแล้ว, อันทำลายซึ่งความเร่าร้อนอันเป็นไปทั่วแล้ว. ปวตฺตปุพฺโพ, ทร วิทารเณ, อ, ลบ วตฺต แปลง ป เป็น พ.
ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
กนฺทรา : (อิต.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
กุทฺทาล : (ปุ.) จอบ, เสียม, พลั่ว. วิ. กุ ปฐวี ทลติ เอเตนาติ กุทฺทาโล. กุปุพฺโพ, ทลฺ วิทารเณ, โณ. ทรฺ วิทารเณ วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. กุทฺทาล.
เกยูร : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไล, สร้อย, สาย สร้อย, อิทรธนู (อิน-ธะนู). เก สทฺเท, อูโร, ยฺ อาคโม. เป็นเกยุร ก็มี. ส. เกยูร
ททฺทรี : (ปุ.) ทัททรี ชื่อกลอง, กลองมีหู ( เป็น กลองใหญ่). ททฺทอิติ สทฺทํ กโรตีติ ททฺทรี. ททฺทปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อี, กโลโป. ททฺ ทาเน วา, รี. แปลง ทฺ เป็น ทฺท หรือ ทรฺ วิทารเณ, อี. ฎีกาอภิฯ เป็น ททฺทริ ลง อิ หรือ ริ ปัจ.
ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
ทายพี : (อิต.) ขมิ้น. ทรฺ วิทารเณ, โพ, รสฺส โพ, ฑีโฆ. อิตฺถิยํ อี.
ทาร : (ปุ.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. วิ. ทารยนฺเต อเนนาติ ทาโร (ทำลาย หรือแบ่งความทุกข์ของสามี). ทรฺ วิทารเณ, โณ. อภิฯ. รูปฯ ๕๖๓ วิ. ทรียติ อเนนาติทาโร ส.ทาร.
ทารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, ทารก คือเด็กที่ ยังไม่เดียงสา เด็กแบเบาะ มติทาง ศาสนาว่าเด็กตั้งแต่คลอดถึง ๖ ขวบ. วิ. ทรติ กีฬวเสน ภูมี วิลิขตีติ ทารโก. ทรฺ วิทารเณ, ณวุ. ส. ทารก.
ทารุ : (นปุ.) ไม้, เปลือกไม้, ท่อนไม้, ชิ้นไม้, ไม้แห้ง, ฟืน. วิ. ทรียตีติ ทารุ. ทรียนฺเต เอเตหีติ วา ทารุ. วิ. หลังนี้ จากโมคฯ. ทรฺ วิทารเณ, ณุ. ทารุ. ที่มาคู่กับไม้ไม่มีแก่น แปล ทารุ ว่าไม้จริง (ไม้มีแก่น). ส. ทารุ
ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
ทุฏฺฐุ : (อัพ. นิบาต) ติเตียน, นินทา, ชั่ว, ร้าย, น่าเกลียด. วิ ทุฏฺฐาติ ปวตฺตติ อสุนฺทรภาเวนาติ ทุฏฺฐุ. ทุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อุ. ฏฺสํโยโค.
นิทฺทรถ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งความเร่าร้อน, ฯลฯ, วิ. ทรถานํ อภาโว นิทฺทรถํ.
ปทร : (ปุ.) ลำธาร, ระแหง, ไม้เลียบ, กระดาน, ซอกศิลาใหญ่, ถ้ำใหญ่, การแตก, การทำลาย. ปปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. เป็น นปุ. บ้าง.
ปทร ปทล : (วิ.) ทำลายซึ่งความเร่าร้อน, ทำลายซึ่งความกระวนกระวาย. ปสฺทโท ทรเถ, ทรฺ ทลฺ วา วิทารเณ, อ.
ปทาร ปทาล ปทาฬ : (วิ.) ทำลาย, แตก, แยก. ปปุพฺโพ, ทรฺ ทลฺ วา วิทารเณ, โณ.
ภคณฺฑล ภคนฺทล : (นปุ.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.