โปณ : (วิ.) เอียง, เอียงไป, น้อม, น้อมไป, ลุ่ม, ลึก, เงื้อม, หวั่นไหว, หลบหลีก. ปุ โอนเต, โณ. ไม่ลบ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ.
นินฺน : (วิ.) ลุ่ม, ลึก. นิปุพฺโพ,มนฺ อภฺยาเส, โณ, มสฺส โน.
ปมุจฺฉิต : ค. เป็นลมสลบ; มัวเมา, ลุ่มหลง, สยบ
กามมุจฺฉา : อิต. ความลุ่มหลงในกาม
คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
จุฬ : (ปุ.) มวยผม ( ผมที่ขมวดไว้เป็นกลุ่มเป็น กระจุก ), ผมจุก, มกุฎ, มงกุฎ, จอม, ยอด, หัว. จุฬฺ เปรเณ, อ.
นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
ปพฺพตสานุ : อิต., นป. ลาดเขา, ที่ราบบนยอดเขา
ปพฺภาร : (ปุ.) เงื้อม ชื่อสิ่งที่ยื่นแล้วงุ้มชะง้ำ ออกมา, เงื้อมเขา, ถ้ำ, หุบเขา, หุบเหว, ลาด, ลุ่มลึก.
ปมาที : ค. ซึ่งทำให้มัวเมา, ซึ่งทำให้ลุ่มหลง
ปมุยฺหติ : ก. ลุ่มหลง, มัวเมา
ปมูฬฺห : ค. ผู้ลุ่มหลง, ผู้มัวเมา
ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
ปโมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้ลุ่มหลง, ล่อให้หลง
ปิณฺฑิต : ค. อันเขารวบรวมแล้ว, อันเขาทำให้เป็นกลุ่มก้อนแล้ว
ยถานินฺน : (นปุ.) ตามที่ลุ่ม.
สงฺกุล : ค. เต็มไปด้วย, เป็นหมู่, เป็นกลุ่ม
สมฺมุยฺหติ : ก. หลง, ลุ่มหลง
สมฺมุฬฺห : กิต. หลงแล้ว, ลุ่มหลงแล้ว
สมวาย : (วิ.) ประชุม, รวม, รวบรวม, เป็นหมู่, เป็นกลุ่ม.
สโมห : ค. หลงรัก, มีความลุ่มหลง
สยูหติ : ก. ประมวล, รวมเป็นกลุ่ม
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กายธาตุ : อิต. กายธาตุ, หมวดกาย, ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายคือ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ
ชานาติ : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ญ : (วิ.) รู้, ทราบ, ญา อวโพธเน, อ.
ญายติ : ค. รู้, ทราบ, เข้าใจ
นายเร : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
อาชานาติ : ก. รู้, เข้าใจ, ทราบ, ตระหนัก
อุปชานาติ : ก. เรียน, รู้, ทราบ
กิลมติ : ก. เหน็ดเหนื่อย, เมื่อยล้า, ลำบาก
ขุลฺลม : ป. ถนน, ทางเดินเท้า
ปริกิลมติ : ก. ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย
โลม : นป. ขน
อลมริย : ค. อย่างประเสริฐ, อย่างแท้จริง
อลฺลมสสรีร : ป. สรีระที่มีเนื้อหนังสด
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กมฺปาก : ป. ลม
คนฺธวาห : (ปุ.) ลม (นำกลิ่นไป).
ฉุป : (ปุ.?) การถูก, การต้อง, การถูกต้อง, การรบกัน, สงคราม, เถาวัลย์, ลม. ฉุปฺ สมฺผลฺเส, อ. ส. ฉุป.
นิล : (นปุ.) ลม. นิปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. วสฺส โล.
ผณิปิย : ป. ลม
มหาภูต : (ปุ. นปุ.) มหาภูต คือธาตุทั้ง ๔ ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟ และ ลม.
มารุต : ป. ลม
มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
มาลุต : ป. ลม
วาต : ป. ลม