ปพฺพตสานุ : อิต., นป. ลาดเขา, ที่ราบบนยอดเขา
ชานาติ : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ญ : (วิ.) รู้, ทราบ, ญา อวโพธเน, อ.
ญายติ : ค. รู้, ทราบ, เข้าใจ
นายเร : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
อาชานาติ : ก. รู้, เข้าใจ, ทราบ, ตระหนัก
อุปชานาติ : ก. เรียน, รู้, ทราบ
กิร : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ดังได้สดับมา, ทราบว่า, ได้ทราบว่า, นัยว่า, ข่าวว่า. เป็น อนุสสวนัตถะ. ไม่ชอบใจ. เป็น อรุจิยัตถะ.
ชานาเปติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ให้เข้าใจ
ชานิยา : ก. พึงรู้, พึงทราบ, พึงเข้าใจ
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
นิเวเทติ : ก. ประกาศให้ทราบ, แจ้งให้ทราบ
ปฏิเวเทติ : ก. ให้รู้เฉพาะ, บอกให้ทราบ, ประกาศ
ปฏิสวิทิต : กิต. (อันเขา) ทราบชัดแล้ว, เข้าใจซึ้งแล้ว, รู้แล้ว, เสวย (เวทนา) แล้ว
ปฏิสเวที : ค. ผู้ทราบชัด, ผู้รู้สึก, ผู้เสวย (เวทนา), ผู้ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
ปฏิสเวเทติ : ก. ทราบชัด, รู้สึก, เสวย (เวทนา), ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
ปฏิหรติ : ก. นำกลับ, กลับคืน; บอก, แจ้งให้ทราบ
ปเวทน : นป. การประกาศ, การบอก, การกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
ปเวทิต : ค. อันเขาประกาศแล้ว, บอกให้ทราบแล้ว, สอนแล้ว
ปเวเทติ : ก. ประกาศ, บอกให้ทราบ, แจ้งให้รู้
มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
สุท : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ทราบว่า, แล.
อนุวิจฺจ : กิต. รู้แล้ว, ทราบแล้ว, แทงตลอดแล้ว
อนุสฺสาเวติ : ก. ให้ได้ยิน, แจ้งให้ทราบ
อนุสาวก : ป. ผู้ประกาศ, ผู้แจ้งให้ทราบ
อนุสาเวติ : ก. ประกาศ, แจ้งให้ทราบ
อปโลกน : (นปุ.) การแจ้งความ, การบอกกล่าว, การบอกให้ทราบ, การประกาศ, การเลือก, การอนุญาต, การอำลา, อปปุพฺโพ, โลกฺภาสยํ, ยุ.
อปโลกนกมฺม : (นปุ.) การประกาศให้ทราบ.
อปโลเกติ : ก. มองดู; บอกลา, อนุญาต, ประกาศให้ทราบ
อภิเวเทติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ประกาศ
อาจิกฺขน : นป. การบอกกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
อุปญฺญาต : กิต. รู้แล้ว, ทราบแล้ว, เข้าใจแล้ว