ฑหติ : ก. เผา, ไหม้, ผลาญ, ทรมาน
ตปติ : ก. เผา, ย่าง, ทรมาน, ส่องแสง
ตาเปติ : ก. ให้เร่าร้อน, ทรมาน
ทเมติ : ก. ฝึก, ข่ม, ทรมาน, บังคับ, สอน, ชักจูงให้มานับถือ
อุปฏฏต : กิต. เจ็บปวด, ทรมาน, เบียดเบียน
อุปตาเปติ : ก. ให้เร่าร้อน, ให้เจ็บปวด, ทรมาน, รบกวน
นิทฺทุกข : (วิ.) มีทุกข์ออกแล้ว นิกฺขนฺต+ทฺข, ออกแล้วจากทุกข์ ทุกฺข+นิกฺขนฺต ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบท เอาไปไว้หน้า, ไม่มี ทุกข์, ปราศจากทุกข์, นิรทุกข์.
ทุลฺลภ : (วิ.) อัน...ได้โดยยาก, ฯลฯ. วิ. ทุกฺเขน ลพฺภตีติ ทุลฺลภํ. ทุกข+ลภฺ+ ข ปัจ. ซ้อน ล.
กมฺมกรณา : อิต. กรรมกรณ์, การลงโทษทางกาย, เครื่องทรมานทางกาย
กหาปณก : นป. ชื่อของการทรมานชนิดหนึ่งซึ่งเฉือนเนื้อออกเป็นชิ้นๆ เท่าเหรียญกหาปณะ
กายมุนิ : ป. นักพรต, ผู้ทรมานกาย
กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
การณา : (อิต.) การเบียน, การทำร้าย, การทรมาน, การทำโทษทางกาย. กรฺ หึสายํ, ยุ.
กิลมียติ : ก. (อัน....) ให้ลำบาก, ให้เหน็ดเหนื่อย, ถูกรบกวน, ถูกทรมาน
กุถิต : ค. เดือด, เดือดพล่าน; (อาหาร)ที่ย่อยแล้ว; ซึ่งถูกทรมาน, ซึ่งระทมทุกข์
ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
โชติมาลิกา : อิต. การทรมานร่างกายอย่างหนึ่งคือการย่างตน
ตปฺปติ : ก. เผา, ไหม้, ส่องแสง, เดือดร้อน, ถูกทรมาน; อิ่มใจ, ยินดี
ตป (โป) กมฺม : นป. กรรมคือตบะ, การบำเพ็ญตบะ, การทรมานกาย
ตปสฺสี : ๑. ป. นักพรต, ฤษี;
๒. ค. ผู้บำเพ็ญตบะ, ผู้ทรมานตน, ผู้เผากิเลส
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
ทม : (ปุ.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, การฝึกสอน, การข่ม, การข่มขี่, การข่มใจ, การปราบ, การอดทน, ความทรมาน, ฯ ลฯ , อาชญา, การปรับไหม, ความรอบรู้, ปัญญา. วิ. ทมนํ ทโม. ทมฺ ทมเน, อ. ส. ทม.
ทมถ : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
ทมน : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
ทมฺม. : (วิ.) อัน...ย่อยยมทรมานได้, ฯลฯ. วิ. ทมฺเมเตติ ทมฺโม. อัน...ทรมานได้, ฯลฯ.วิ. ทมิตพฺโพติ. ทมฺโม. ผู้ควรแก่การทรมาน, ฯลฯ. วิ. ทมนารโห ทมฺโม. ทมฺ ทมเน, โณฺย. แปลง ณฺย กับที่สุดธาตุเป็น มฺม หรือแปลง มฺย เป็น มฺม รูปฯ ๕๓๙.
ทมิต : กิต. (อันเขา) ฝึกแล้ว, ข่มแล้ว, ทรมานแล้ว
ทเมตุ : ป. บุคคลผู้ฝึก, ผู้ข่ม, ผู้ทรมาน
ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
ทุกฺขานุภวน : นป. การเสวยทุกข์, การได้รับความทุกข์ทรมาน
ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
ทุทฺทม : (วิ.) อัน...ทรมานได้โดยยาก ฯลฯ, ทรมานยาก, ฯลฯ. วิ. ทุกฺเขน ทมียตีติ ทุทฺทมํ.
ปุริสทมฺม : (ปุ.) คนผู้อัน...พึงทรมานได้, คนผู้อัน...พึงฝึกได้, คนที่พอฝึกได้, คนที่ควรฝึก.
พลิสมสิกา : อิต. การเกี่ยวด้วยเบ็ด, การทรมานกายอย่างหนึ่ง
ยาตนา : (อิต.) การทรมาน, ความทรมาน, ความเจ็บป่วย. ยตฺ นิยฺยาตเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
วินิปาติก : ค. ผู้ตกอยู่ในอบาย, ผู้ถูกทรมาน
สนฺตาป : ป. ความร้อน, ความเผา; ความทรมาน
อตฺตกิลมถ : ป. การทรมานตน, การทำตนให้ลำบาก
อตฺตนฺตป : ค. ทำตนให้เร่าร้อน, ทรมานตน
อปตจฺฉิก : ป. การลงโทษวิธีหนึ่ง, การทรมาน
อสนฺตาปน : นป. การไม่ถูกทำให้ร้อน, การไม่ถูกเผา, การไม่ถูกทรมาน
อาตาปน : นป. ความเพียร, เครื่องเผากิเลสให้เร่าร้อน, การทรมานตัวเพื่อย่างกิเลส
อาตาเปติ : ก. ทำให้ร้อน, ทรมานตัวให้ลำบาก
อุปตปฺปติ : ก. ทรมานกาย, ทำกายให้เร่าร้อน, ทำทุกรกิริยา
อุปตาปก : ค. อันให้เร่าร้อน, ให้เดือดร้อน, อันทรมาน
อุรจกฺก : นป. ล้อเหล็ก, ล้อมีคม (เครื่องมือทรมานสัตว์นรก)
ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
ทุกฺข : (วิ.) ยาก, ลำบาก, ชั่ว, เดือดร้อน, ไม่ สบาย, ทุกข์. ทุกฺข ตกฺกิริยายํ, อ.