กณฺณธาร : (ปุ.) คนที่อยู่มุมเรือ (ตอนหนึ่งของเรือ), คนถือท้ายเรือ, นายท้าย, นายเรือ. กณฺณปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, โณ.
นิยามก : (ปุ.) คนขับรถ, คนถือท้ายเรือ, นาย ท้าย, นายท้ายเรือ, ต้นหน, ฝีพาย (คน พายเรือ). วิ. นิยจฺฉติ โปตมิติ นิยามโก. นิปุพฺโพ คมเน, ยมุ อุปรเม, ณวุ.
โปตวาห : (ปุ.) ต้นหน, นายท้าย. โปตปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณ โณ. แปลว่า ลูกเรือ กลาสี ฝีพาย ด้วย.
โปลินฺท : (ปุ.?) ห้องท้ายเรือ.
ทารุสงฺฆาฏ : ป., ค. แพไม้, เรือ; ซึ่งต่อด้วยไม้, ซึ่งคาดด้วยไม้, ซึ่งสร้างด้วยไม้
ทาย : (ปุ.) ป่า, หมู่ไม้, กอหญ้า, ทา อวขณฺฑนเฉทเนสุ. ทยฺ ทานคติหึสาสุ วา, โณ. แปลง อา เป็น อาย ถ้าตั้ง ทยฺ ธาตุ ก็ฑีฆะ.
ชลยาน : (นปุ.) ยานที่ลอยอยู่ในน้ำ, ยานในน้ำ, น้ำ, เรือ.
ตรณ : (นปุ.) อันข้าม, อันข้ามไป, อันข้ามน้ำ ไป, อันข้ามแม่น้ำไป, การข้าม, ฯลฯ, เรือ. ตรฺ ตรเณ, ยุ. ส. ตรณ.
โทณี : (อิต.) เรือชะล่า โบราณเขียนฉะหล้า, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือ), เรือโกลน. วิ. ทวติ วหตีติ โทณี. ทุณฺ คติหึสาสุ, อ, อิตฺถิยํ อี.
นาวา : อิต. เรือ
ยาน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องไป, วัตถุเป็นเครื่องถึง, วัตถุเป็นเครื่องนำไป, วัตถุสำหรับนำไป, เครื่องนำไป, การไป, การถึง, ยาน, ยวดยาน เช่น เรือ รถ เป็นต้น. วิ. ยาติ อเนนาติ ยานํ. ยา คติปาปุณเนสุ, ยุ.
กณฺณิก : ป., กณฺณิกา อิต. คนถือท้าย; เครื่องประดับหู, ช่อฟ้า; ยอด; ฝักบัว
กูป, - ปก : ป. หลุม, บ่อ, โพรง; เสากระโดงเรือ
เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
โคฏวิย, โคฏวิส : ป. ตะกวด, สัตว์งวง; ส่วนของเรือ; ดาดฟ้า, บาหลี; สมอเรือ, แจว, พาย
โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
จริยาปิฏก : นป. คัมภีร์จริยาปิฎก, ชื่อของคัมภีร์สุดท้ายในขุททกนิกาย
ฉมณฺฑ : (ปุ.) ลูกกำพร้า (ไร้พ่อไร้แม่ ). ฉฑฺฑฺ ฉฑฺฑเน, อ. แปลง ฑฺ ตัวสังโยคเป็น ทฺ แล้วแปลง ทฺ เป็น ม แปลง ฑ ตัวท้ายเป็น ท แล้วแปลงเป็น ณฺฑ.
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ตปนีย : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. วิ. ตปนํ ทาห ทหรตีติ ตปนียํ. ตปนศัพท์ อนีย ปัจ. ลบ น ท้ายศัพท์.
ตมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง). ตมฺ กํขายํ, ณฺวุ. ลง พ อักษรท้ายธาตุ รูปฯ ๕๙๘.
ตรณฺฑ : ไตร. เรือ, แพ
ตรณี : (อิต.) เรือ, สำเถา, กำปั่น, แพ. วิ. ตรนฺติ ยาย สา ตรณี. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓. ลง อิ ปัจ. ได้รูปเป็น ตรณิ.
ตริ ตรี : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, แพ. ตรฺ ตรเณ. รูปฯ ลงอิ ปัจ. อภิฯ ลง อี ปัจ.
ตารณิ : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, ดารณี. ณิ ปัจ. ไม่ลบ ณฺ. ส. ตารณี.
ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
- ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ;
๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
ทาสพฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบ่าว, ฯลฯ. วิ. ทาสสฺส ภาโว ทาสพฺยํ พฺย ปัจ. หรือ ณฺย ปัจ. วุ อาคมท้ายศัพท์.
ทิสากาก : ป. กาบอกทิศ, กาที่เขานำไปกับเรือเพื่อบอกทิศทางบกในเวลาเรืออยู่ในทะเล
ทีปกสิขร : (ปุ. นปุ.) หัวแหลมแห่งเกาะ,ปลายแห่งเกาะ,ท้ายเกาะ.
เทวยาน : นป. ทางไปสวรรค์, เรือเหาะ
โทณิ, - ณิกา, - ณี : อิต. เรือชะล่า, เรือโกลน, เรือแจว; ราง, ลำราง
ธุวนาวา : อิต. เรือประจำท่า, เรือที่ข้ามฟากไปมาเป็นประจำ, เรือจ้าง
นาลิเกร นาฬิเกร : (ปุ.) มะพร้าว, กัจฯ และ รูปฯ ลง เณร ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง อิร ปัจ. และ ก ท้ายศัพท์ วิ. นาฬิ วิย ชายตีติ นาฬิเกโร. ส. นาริเกร, นาริเกล.
นาวาสญฺจาร : ป. การเที่ยวทางเรือ, ท่าเรือ
นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
นาวิกโยธ : (ปุ.) ทหารเรือ.
นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
นาวิกสตฺถ : (นปุ.) ตำราเดินเรือ, นาวิกศาสตร์. ส. นาวิกศาสฺตฺร.
นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
นาวิถี : อิต. คนเรือผู้หญิง, หญิงผู้อยู่ในเรือ
นิมฺพ : (ปุ.) สะเดา วิ. นมติ ผลภาเรนาติ นิมฺโพ, นมุ นมเน, โพ. แปลง อ ที่ น เป็น อิ หรือตั้ง นิ นเย. ลง มฺ อาคมท้ายธาตุ. ชายคา, แง้มประตู ก็แปล.
นิยติ : (อิต.) โชคดีโชคร้าย, เคราะห์กรรม. วิ. สุภาสุภผลํ เนตีติ นิยติ. นิ ปาปุณเน, ติ. และ อ อาคมท้ายธาตุ.
นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
ปโปต : (ปุ.) สำเภา เรือสำเภา ชื่อเรือเดินทะเล สมัยโบราณ. โปตเรือเล็ก ปโปตเรือใหญ่ คือเรือสำเภา.
ปวหณ : นป. เรือเล็กของเรือกำปั่น, สัดจอง