ท : (วิ.) ให้, ผู้ให้. ทา ทาเน, อ. อุ. ปโยท เมฆ.
- ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
ทสนจฺฉท : (ปุ.) ริมฝีปาก วิ. ทสเน ฉาทยตีติ ทสนจฺฉโท. ทสนปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จฺสํโยโค.
ททาติ : ก. ให้, มอบให้, บริจาค, ส่งให้, อนุญาต
ทเมติ : ก. ฝึก, ข่ม, ทรมาน, บังคับ, สอน, ชักจูงให้มานับถือ
ทเมตุ : ป. บุคคลผู้ฝึก, ผู้ข่ม, ผู้ทรมาน
ทยติ : ๑. ก. บิน;
๒. ค. เอ็นดู, สงสาร, กรุณา
ทวกมฺม : (นปุ.) การเล่นหัวเราะกัน.
ทวกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่ในการเล่น, ความอยาก, ความขี้เล่น, ความชอบตลก, ความชอบเล่นสนุก
ทสกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสิบครั้ง, สิ้นสิบ คราว, สิ้นสิบหน. ทส+กฺขตฺตํ ปัจ. ลงในวารศัพท์. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสิบครั้ง, ฯลฯ.
ทสกฺขตฺตุ : อ. สิบครั้ง
ทสกณฺฐ : (ปุ.) ทศกัญฐ์ ทศกรรฐ์ ชื่อยักษ์ ผู้มีสิบคอ ซึ่งเป็นเจ้าเมืองลงกาใน เรื่องรามายณะ (รามเกียรติ์).
ทสน : (นปุ.) ฟัน ( กระดูกเป็นซี่ๆอยู่ในปาก ). ทํสฺ ทํสเน, ยุ. ส. ทํศน.
ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ;
๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
ทสิกสุตฺต : นป. เส้นด้ายที่เหลือพันชายผ้า, ด้ายขอบผ้า
ทหนเตช : (ปุ. นปุ.) ไฟที่เผาผลาญ.
ทหรา, - รี, - ริกา : อิต. เด็กหญิง, หญิงสาว
กุนฺตนิ กุนฺตนี กุนฺทติ : (อิต.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, ยุ, อสฺสุ, อิตฺถิยํ อี. ศัพท์หลัง อ, ติ ปัจ. แปลง ต เป็น ท
ปโยท : (ปุ.) เมฆ (ให้น้ำ ). ปย+ท แปลง อ ที่ ย เป็น โอ.
อุทฺท : (ปุ.) นาก, นากกินปลา, เงือก, แมวน้ำ. อุทิ อุทฺท วา ปสวนเกฺลทเนสุ. ตั้ง อุทิ ธาตุ ลง ท ปัจ. ถ้าตั้ง อุทฺท ธาตุลง อ ปัจ.
กุรุวินฺท : (ปุ.) พลอยแดง, ทับทิม. กุรุวินฺทสุตฺติ ก้อน-จุรณ์หินสีดังพลอยแดง.
โควินฺท : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นหัวหน้าของโค,พญาโค. วิ. ควํ คุณฺณํ อินฺโท โควินฺโท. โค+อินฺท วฺ อาคม. เจ้าของโค วิ. ควํ อินฺโท อธิกโต ชโน โควินฺโท. ควํ วินฺทตีติ วา โควินฺโท. โคปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, อ. และยังแปลว่า เจ้าของวัวควาย, หัวหน้าคนเลี้ยงสัตว์, นาย โคบาล, พระกฤษณะ, พระพฤหัสบดี อีกด้วย.
ทฺวิป ทฺวิรท : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กเรน มุเขน จาติ ทฺวีหิ ปิวตีติ ทวิโป. ทฺวิปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ. เทฺวา รทา ยสฺส โส ทฺวิรโท. ส. ทฺวิป, ทฺวิรท, ทฺวิราป.
ทิ : ค. สอง (ใช้เฉพาะในรูปสมาส เช่น ทิปท, ทิคุณ เป็นต้น)
นาเทว นรนาถ นรนายก นรป นรปติ นรปาล นรราช นราธิป นรินท : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. ส. นเรนทร, นฤป, นฤปติ.
หินฺทคู : (ปุ.) สัตว์ วิ. หินฺทํ มาณํ คจฺฉตีติ หินฺทคู(ผู้ถึงความตาย). หินฺท+คมฺ+รู ปัจ. ลบที่สุดธาตุ. ไตร. ๒๕.
อรวินฺท : (นปุ.) ทองแดง, ดอกบัว, ปทุม (บัว-หลวง), บัว, อรพินท์.วิ.อรํวินฺทตีติวาอรวินฺทํ.ส.อรวินฺท.
อินฺทชาลิก : (ปุ.) คนเล่นกล, คนเจ้าเล่ห์, คนเจ้ามายา. วิ. อินฺทชาเล นิยุตฺโต อินฺทชาลิโก.
อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
อินฺทวชิร : (นปุ.) อินทวชิระ ชื่อฉันท์ชนิด หนึ่ง, อินทวิเชียรฉันท์, อินทรวิเชียรฉันท์.
อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
กามท, - ทท : ค. ซึ่งให้สิ่งที่น่าปรารถนา
กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
กุนฺท : (ปุ.) มะลิเครือ, มะลิวัลิ, มะลิวัลย์.
คทฺทุ (ทู) ล : ป. สายหนัง, บ่วงหนัง; เครื่องผูกสุนัข
คทฺทุ (ทู) หน : นป. การรีดนม
จุนฺท : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, จุนทะ ชื่อคน. จทิ ทิตฺติยํ, อ, อสฺสุ.
ฉินฺทติ : ก. ตัด, ทำลาย
ตามฺพูลท : (ปุ.) คนหามพลู, ส. ตามพลูลิก คนขายหมาก.
ติทสินฺท : ป. จอมเทวดา
ตุนฺท : (ปุ.?) พุง, กระพุ้งท้อง.
เตลสงฺคุฬิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า ขนมระคน ด้วยงา, วาทะว่าขนมแตกงา ( ขนมทำด้วย แป้งคลุกด้วยงา).
โตยท : (ปุ.) เมฆ (ให้น้ำ).
ทตฺวา, ททิตฺวา : กิต. ให้แล้ว
ทฺวิรท : ป. ช้างพลาย
ทายท : (ปุ.) คนผู้อันมารดาบิดาพึงให้มรดก, ลูก, ลูกชาย, บุตร.
ทารุสมาทหาน : นป. การรวบรวมไม้, การเก็บไม้มารวมกัน, การเก็บฟืน
ทิปท : ป. สัตว์สองเท้า, มนุษย์
ทิปท ทิปาท : (วิ.) มีเท้าสอง.
ทิปทินฺท : ป. พระผู้เป็นจอมแห่งสัตว์สองเท้า, พระพุทธเจ้า