Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธมฺมชาติ, ธมฺม, ชาติ , then ชาต, ชาติ, ชาตี, ธมม, ธมฺม, ธมมชาต, ธมฺมชาติ, ธมฺมา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธมฺมชาติ, 419 found, display 1-50
  1. ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
  2. ธมฺม : (วิ.) หนักแน่น อุ. ทฬฺหธมฺม แม่นยำ และหนักแน่น
  3. ชาติ : (อิต.) มะลิ, ดอกมะลิ.
  4. ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
  5. ชาตี : (อิต.) ชาตบุษย์ , มะลุลี, มะลิซ้อน.
  6. ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
  7. ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
  8. ชาติสุวรณฺณ : (นปุ.) ทองเกิดโดยกำเนิด, ทอง แต่กำเนิด, ทองธรรมชาติ, ทองคำธรรม ชาติ.
  9. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  10. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  11. ธมฺมจาร : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจาโร. ณ ปัจ.
  12. ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
  13. ธมฺมภูต : (วิ.) ผู้เป็นเพียงดังเหตุ วิ. ธมฺโม อิว ภูโตติ ธมฺมภูโต. ธมฺโม อิว ภูโต อยนฺติ ธมฺมภูโต, ปฐมาอุปมาบุพ. พหุพ.
  14. ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
  15. ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
  16. ชาติวาท : ป. การสนทนาถึงเรื่องชาติ, การถกกันด้วยเรื่องเทือกเถาเหล่ากอ
  17. ธมฺมเทสฺสี : (วิ.) ผู้ชังซึ่งธรรม, ผู้ชังธรรม, ผู้เกลียดธรรม. ธมฺมปุพฺโพ, ทิสิ อปฺปีติยํ, อิ. ทีโฆ, อี วา.
  18. ธมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล อีก และ วิ. เลียนแบบ ธมฺมจารีง
  19. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  20. ธมฺมสภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกับเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว เป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ธมฺมสภา (ที่ประชุมสอนศาสนา).
  21. ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสามิ : (ปุ.) พระธรรมสามี เป็นพระนามของพระพทธเจ้าทั้งปวง วิ. ธมฺมสฺส สามิ ธมฺมสามิ. ธมฺมสฺส วา ปวตฺตกตฺตา ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสสามิ วา.
  22. ธมฺมธร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งธรรม, ผู้ทรงซึ่งธรรม, ผู้ทรงธรรม. วิ. ธมฺมํ ธรตีติ ธมฺมธโร, อปัจ.
  23. ธมฺมสวน ธมฺมสฺสวน : (วิ.) (กาล) เป็นที่ฟัง ซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ สุณาติ เอตฺถาติ ธมฺมสวโน ธมฺมสฺสวโน วา. ศัพท์หลังซ้อน สฺ และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  24. ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.
  25. ชาตินิโรธ : ป. ความดับสูญแห่งการเกิด
  26. ชาติผล : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ, ผลจันทร์.
  27. ชาติวีณา : อิต. พิณที่มีมาแต่เกิด, พิณคู่มือ, พิณประจำสกุล
  28. ชาติเวท : ป. เปลวไฟ
  29. ชาติสุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ ชื่อบัว, มะลุลี ชื่อต้นไม้ในวรรณคดี, ดอกบัว, มะลิ, มะลิซ้อน.
  30. ธมฺมเกตุ : ป. ธงคือธรรม, ธงแห่งธรรม
  31. ธมฺมขนฺธ : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, ฯลฯ, ธรรมขันธ์คือธรรมข้อหนึ่งๆ
  32. ธมฺมครุ : ค. ผู้เคารพธรรม, ผู้หนักในธรรม
  33. ธมฺมครุ ธมฺมครุก : (วิ.) เคารพซึ่งธรรม, เคารพในธรรม, หนักในธรรม, มีธรรม เป็นที่เคารพ.
  34. ธมฺมคารว : (วิ.) มีความเคารพซึ่งธรรม, ฯลฯ.
  35. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  36. ธมฺมคุตฺต : ค. ผู้อันธรรมคุ้มครองแล้ว, ผู้อันธรรมปกปักรักษาแล้ว
  37. ธมฺมคู : ป. ผู้ถึงธรรม, ผู้บรรลุธรรม, ผู้รู้ธรรม
  38. ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
  39. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตน : (นปุ.) การยังจักรคือ ธรรมให้เป็นไป, การยังจักรคือธรรมให้หมุนไป.
  40. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  41. ธมฺมจกฺขุ : (วิ.) ผู้มีดวงตาเห็นธรรม.
  42. ธมฺมจาค : (ปุ.) คนผู้สละซึ่งธรรม, คนผู้สละธรรม, ฯลฯ, การสละซึ่งธรรม, การละทิ้งธรรม.
  43. ธมฺมเจติย : (นปุ.) เจดีย์อันบุคคลบรรจุพระธรรม, เจดีย์บรรจุพระธรรม.
  44. ธมฺมชาล : นป. ข่ายคือธรรม; ชื่อของพระสูตรหนึ่งคือธรรมชาลสูตร, พรหมชาลสูตรก็เรียก
  45. ธมฺมชีวี : (ยิ.) ผู้เป็นอยู่โดยปกติโดยธรรม, ผู้เป็นอยู่ตามธรรมโดยปกติ, ผู้มีปกติเป็น อยู่โดยธรรม, ผู้เป็นโดยอยู่ธรรม, ผู้เป็น อยู่ตามกฎหมาย.
  46. ธมฺมทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งธรรม, การให้ซึ่งความรู้, การให้ธรรม, การให้ความรู้.
  47. ธมฺมทายาท : ค. ธรรมทายาท, ผู้มีธรรมเป็นมรดก
  48. ธมฺมทีป : ๑. ค. ธรรมประทีป, ผู้มีธรรมเป็นดวงประทีป; ๒. ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง, มีธรรมเป็นที่พักพิง
  49. ธมฺมเทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดงซึ่ง ธรรม, การแสดงธรรม, การชี้แจงธรรม, การสอนธรรม.
  50. ธมฺมธาตุ : (ปุ.) ชนผู้ทรงไว้ซึ่งธรรม, พระ ธรรมธาดา หมายเอาพระบรมศาสดา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-419

(0.0772 sec)