Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธมฺมสฺสามี, ธมฺมสฺ, สามี , then ธมฺมสฺ, ธมมสสาม, ธมฺมสฺสามิ, ธมฺมสฺสามี, สะมี, สาม, สามิ, สามี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธมฺมสฺสามี, 176 found, display 1-50
  1. ธมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า
  2. สามี : (ปุ.) สามี องค์แห่งความเป็นพระราชา ๑ ใน ๗ องค์, พระราชา.
  3. ธมฺมาธิป : ป. ดู ธมฺมสฺสามี
  4. สามิ สามี : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามิ สามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
  5. สามิ : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
  6. ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสามิ : (ปุ.) พระธรรมสามี เป็นพระนามของพระพทธเจ้าทั้งปวง วิ. ธมฺมสฺส สามิ ธมฺมสามิ. ธมฺมสฺส วา ปวตฺตกตฺตา ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสสามิ วา.
  7. สามีจิกมฺม : (นปุ.) การทำชอบ, ฯลฯ, กิจชอบ, ฯลฯ, กรรมชอบ, ฯลฯ, สามีจิกรรม (การชอบ การเคารพ).
  8. ธมฺมสฺสวน : นป. การฟังธรรม
  9. สามีจิ : (วิ.) ชอบ, ชอบยิ่ง, ชอบธรรม, ควร, สมควร, ถูกต้อง.
  10. กนิฏฺฐ ภคินิสามี : (ปุ.) สามีของน้องสาว, น้องเขย.
  11. ภรุ : (ปุ.) ชายผู้เลี้ยง, ผัว, สามี, ภัสดา. ณุ ปัจ.
  12. อิน : (ปุ.) พระอาทิตย์, นาย, สามี, ผัว, เจ้า. วิ. เอสิ อิสฺสรตฺต มคมาสีติ อิโน. อิ คมเน, อิโน, โน วา ส. อิน.
  13. กมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของกรรม
  14. กมฺมสามี : ป. เจ้าของกรรม
  15. ธมฺมสวนกาล ธมฺมสฺสวนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ฟังซึ่งธรรม, กาลเป็นที่ฟังธรรม, เวลาเป็นที่ฟังธรรม.
  16. ธมฺมสวน ธมฺมสฺสวน : (วิ.) (กาล) เป็นที่ฟัง ซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ สุณาติ เอตฺถาติ ธมฺมสวโน ธมฺมสฺสวโน วา. ศัพท์หลังซ้อน สฺ และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  17. ธมฺมสามิสฺสร ธมฺมสฺสามิสฺสร : (วิ.) ผู้เป็น ใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของแห่งธรรม.
  18. ธมฺมสามี : (ปุ.) แปลเหมือน ธมฺมมสาติ.
  19. ยญฺญสามี : ป. ผู้บูชายัญ, เจ้าของยัญ
  20. สาม : (วิ.) ดำ, ดำคล้ำ, เขียว, เขียวคราม, เหลือง.
  21. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  22. ภตฺต : (ปุ.) ผัว, สามี. ภรฺ ภรเณ, โต.
  23. กสิมา : ป. ชายผู้เป็นสามี, ผู้ปลูกฝัง, ผู้ให้กำเนิด
  24. กึกร กึการ : (ปุ.) คนใช้ (คนรับใช้), ทาส, บ่าว. วิ. กิญฺจิ กโรตีติ กึกโร กึกาโร วา. กึปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, โณ. อห มชฺช กึ กริสฺสามีติ ภตฺตุ กตฺตพฺพกิจฺจยาจนตฺตา วา กึกาโร. ส. กึกร กิงฺกร.
  25. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  26. ชายมฺปติก : ป. ชายาและบดี, ภรรยาและสามี, เมียและผัว, เมียผัว
  27. เชฏิฐภคินิสามิก : (ปุ.) สามีของพี่สาวคนหัวปี, พี่เขยใหญ่, พี่เขย.
  28. ทาร : (ปุ.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. วิ. ทารยนฺเต อเนนาติ ทาโร (ทำลาย หรือแบ่งความทุกข์ของสามี). ทรฺ วิทารเณ, โณ. อภิฯ. รูปฯ ๕๖๓ วิ. ทรียติ อเนนาติทาโร ส.ทาร.
  29. ทารี : (ปุ.) สามี, ภัสดา, ภรรดา, ภารดา, ผัว (ผู้ทำลายหรือแบ่งเบาความทุกข์ของภรรยา).
  30. ปติกา : อิต. หญิงผู้มีเจ้าของ, หญิงผู้มีสามี
  31. ปติกุล : นป. ตระกูลแห่งผัว, วงศ์ตระกูลฝ่ายสามี
  32. มตาสามินี : (อิต.) หญิงมีสามีตายแล้ว, แม่หม้าย, หญิงหม้าย.
  33. สตี : อิต. หญิงผู้ซื่อสัตย์ต่อสามี, หญิงผู้บริสุทธิ์
  34. อติจาริณี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติล่วงโดยปกติ, หญิงนอกใจสามี, หญิงมีชู้.วิ.สามิกํอติกฺกมฺมอญฺญตฺรจรตีติอติจาริณี.อติปุฑฺโพ. จรฺคติยํ, ณี, อิตฺถิยํอินีนสฺสณตฺตํ.
  35. อลปเตยฺยา : อิต. ผู้มีอายุพอจะแต่งงานได้, หญิงที่ถูกกล่าวว่า “พอละ” เป็นการแสดงความไม่พอใจของสามีไล่ให้เธอกลับไปหามารดาบิดา
  36. อสปตี : อิต. หญิงที่ไม่มีหญิงร่วมสามี คือสามีไม่ร่วมกับหญิงอื่น
  37. เอกภตฺตกินี : ค. หญิงที่ซื่อสัตย์ต่อสามีคนเดียว
  38. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  39. สามญฺญ : (นปุ.) ความเป็นสมณะ, ความเป็นแห่งสมณะ. วิ. สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ. ความเกื้อกูลแก่สมณะ. วิ. สมณานํ หิตํ สามญฺญํ. ณฺย ปัจ.
  40. สามเณรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ, หญิงผู้เป็นสามเณร, สามเณรหญิง, สามเณรี หญิงผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุณีแด่สมาทานศีล ๑๐.
  41. สาม : (อัพ. นิบาต) เอง, โดยลำพัง, โดยตนเอง, ด้วยตนเอง. อภิฯ ลงใน สยตฺถ รูปฯ ลงในตติยตฺถ.
  42. สามจฺจ : ค. ซึ่งพร้อมเพรียงกัน, ซึ่งร่วมด้วยเพื่อน
  43. สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
  44. สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
  45. สามณก : ค. อันสมควรแก่สมณะ
  46. สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
  47. สามตฺถิย : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, มี, เป็น, ควร, สมควร.
  48. กาฬสาม : (ปุ.) ดำคล้ำ (สี...), สีดำคล้ำ.
  49. สีลสามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกันโดยศีล, ความเป็นผู้มีศีลเสมอกัน.
  50. อสฺสามณก : (วิ.) ไม่ควรแก่สมณะ, ไม่ใช่กิจของสมณะ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-176

(0.0686 sec)