ธมฺมสตฺถ : (นปุ.) ตำราแห่งกฎหมาย, ธรรม ศาสตร์. ส. ธรฺมศาสฺตฺร.
กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
เกฏภ : นป. เกฏภศาสตร์, ศาสตร์ชนิดหนึ่งของพราหมณ์ ว่าด้วยวิชาการกวี, ศาสตร์อันเป็นอุปกรณ์แห่งกวี
เกฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
ทณฺฑนีติ : อิต. ศาสตร์ว่าด้วยแบบแผนการลงโทษ
นาวิกสตฺถ : (นปุ.) ตำราเดินเรือ, นาวิกศาสตร์. ส. นาวิกศาสฺตฺร.
นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
ปพนฺธกปฺปนา : (อิต.) ประพันธกถาศาสตร์ ( นิยายที่แต่งขึ้นต่อเนื่องยืดยาว ) วิ. ปพนฺเธเนว จ สวิตฺถาเรน กปฺปนํ ยสฺสา สา ปพนฺธกปฺปนา.
โลกายต : นป. โลกายตศาสตร์
สตฺถ : นป. ศาสตร์; ตำรา; เกวียน, กองเกวียน; ศัลตรา, หอก, มีด
สทฺทสตฺถ : นป. ศัพท์ศาสตร์, ตำราศัพท์
สาวิตฺติ : (อิต.) สาวิตติศาสตร์, สาวิตรี (คำสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท). อถโข ติปทํ ติปาท เมว สิยา สา สาวิตฺติ นาม. สวิตุสฺส อิสิโน อยํ วาจา สาวิตฺติ. อิณฺ ปัจ.
อกฺขรสตฺถ : (นปุ.) คัมภึร์แห่งอักษร, ตำราว่าด้วยอักขระ, ตำราพรรณนาถึงอักษร, อักษรศาสตร์ชื่อตำราว่าด้วยวิชาการทางหนังสือ.
อตฺถสตฺถ : นป. อรรถศาสตร์, ทัณฑศาสตร์
อากฺขยายิกอาขฺยายิก : (ปุ.) อาขยายิกศาสตร์ศาสตร์ว่าด้วยจริยาเป็นต้น.อภิฯเป็นอิต.
อาขยายิกา : อิต. อาขยายิกศาสตร์, เรื่องราว, นิทาน, ประวัติ
อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
อิติหาส : (ปุ.) อิติหาสศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย พงศาวดารยืดยาว มีภารตยุทธ์ เป็นต้น. เรื่องราว, นิทาน.