กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กติกาสณฺฐาน : นป. การเข้าถึง, การนัดหมายกัน, การตกลงกัน
จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
มานตฺต : (นปุ.) มานัด ชื่อของการประพฤติวัตรเนื่องด้วยการนับราตรี.
อสงฺเกต : นป., ป. การไม่สังเกต, การไม่กำหนด, การไม่ได้นัดหมาย
อสงฺข : ค. ไม่ได้กำหนด, ไม่ได้นัดหมาย
อาณตฺติ : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, ข้อบังคับ, ข้อบังคับที่นัดหมายกันไว้, คำบังคัง, คำสั่ง, กฏ.อาณฺธาตุติปัจ.แปลงติเป็นตฺติ.ส. อาชฺญปฺติ.
อานนฺทเภรี : อิต. กลองที่ตีเพื่อนัดให้เล่นมหรสพฉลอง
อุทฺทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, นัดหมาย, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
นตฺติ : (อิต.) การฟ้อน, ฯลฯ. นตฺ ธาตุ ติ ปัจ.
นตฺตมาล นตฺตมาลก : (ปุ.) ไม้กระเช้า, ไม้ กุ่ม, กถินพิมาน. วิ. นตฺตา มาลา ยสฺส โส นตฺตมาโล. ศัพท์หลัง ก สกัด.
นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
นตฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ+อนฺต ลบ ตฺถิ แปลง นฺ เป็น ตฺ ก สกัด ดู นนฺตกด้วย.
นตฺตมาล : ป. ต้นกุ่ม, ไม้กะเช้า
นตฺตุธีตุ : (อิต.) หลานสาว.
นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
นฏ, นฏก, นฏฺฏ, นฏฺฏก, นตฺตก : ค. คนฟ้อนรำ, นักเต้นรำ, ตัวละคร
อชานตฺวา, อชานีย : กิต. ไม่รู้แล้ว, ไม่เข้าใจแล้ว
นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
นตฺย : (นปุ.) การฟ้อน, ฯลฯ, นตฺ คตฺตวิมาเน, โย.
นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.