Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นั่นแหละ, แหละ, นั่น , then นน, นนหล, นั่น, นั่นแหละ, หล, แหละ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นั่นแหละ, 73 found, display 1-50
  1. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  2. ตเถว : อ. ฉันนั้นแล, ในทำนองเดียวกัน, เหมือนกันนั่นแหละ
  3. ตปธน : (วิ.) ผู้มีศัพท์คือตบะ, ผู้มีตบะนั่น แหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตาปธโน. ฉ.พหุห.
  4. เอโส : ค. นี้, นั่น, นั้น
  5. หล : นป. คันไถ
  6. อตฺร : (อัพ. นิบาต) ในนี้. อิม+ตฺร ปัจ. แปลงอิม เป็น อ.ใน...นั่น. เอต+ตฺร ปัจ.แปลงเอตเป็นอ.
  7. เอต : (ไตรลิงค์) นั่น. ส. เอตตฺ.
  8. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  9. ตตฺถ, ตตฺร : อ. ที่นั่น, ในเหตุนั้น
  10. ตถตฺตา : (อัพ. นิบาต) เพียงนั้นนั่นเทียว, เหมือนกัน, ฉันนั้น. ตถา+อิว รฺ อาคม.
  11. ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
  12. ตโปธน : (วิ.) ผู้มีความเพียรเผาบาปเป็นทรัพย์ วิ. ตโป ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ผู้มีทรัพย์ คือตบะ ผู้มีตบะนั้นแหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ฉ. พหุพ. รูปฯ ๓๗๗.
  13. ตาวตึสเทวนคร : (นปุ.) นครแห่งเทวดาชื่อ ดาวดึงส์. ฉ. ตัป. มี สัม. กัม. เป็นท้อง. ตาวเทว ( อัพ. นิบาตท ) เพียงนั้นนั่นเทียว. ตาว+เอว ทฺ อาคม.
  14. ตาวเทว : อ. เพียงนั้นนั่นเทียว, ในขณะนั้น; บัดนั้น
  15. ปุพฺเพว : (อัพ. นิบาต) ก่อนนั่นเทียว.
  16. ภวตณฺหา : (อิต.) ความอยากในความมี, ความอยากในความเป็น, ความอยากในความเกิด, ความปรารถนาในความมี, ฯลฯ, ความอยากมี, ฯลฯ, ตัณหาเป็นไปในภพ, ตัณหาในภพ, ความกำหนัดแห่งจิตอันสหรคตด้วยภวทิฏฐิ, ความอยากเป็นอยู่ในภพ, ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
  17. มุสา : (อัพ. นิบาต) เหลาะ แหละ, พราง, ผิด, ไม่จริง, เท็จ.
  18. ยถริว : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, เพียงใดนั่นเทียว.
  19. ยาวเทว : (อัพ. นิบาต) เพียงไรนั่นเทียว, เพียงใดนั้นเทียว.
  20. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  21. อโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั่น, เอต+โตปัจ. แปลง เอต เป็น อแต่...นี้, แต่นี้.อิม+โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อเพราะเหตุนั้นก็แปล.
  22. อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
  23. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  24. เอตฺต : ก. วิ. ที่นั่น, ที่นี่
  25. เอตโต : (อัพ. นิบาต) ข้างนั่น, ข้างนั้น.
  26. เอโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั้น. เอต+โต ปัจ แปลง เอต เป็น เอ. ข้างโน้น. อมุ+โต แปลง อมุ เป็น เอ.
  27. เอวเมว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นนั่นเทียว, ฉัน นั้นเหมือนกัน, ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
  28. ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
  29. หล : (อัพ. นิบาต) อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร. รูปฯ.
  30. กลหล : (ปุ.) เสียงกึกก้อง, เสียงเซ็งแซ่, โกลาหล. กลปุพฺโพ, หลฺ วิเลขเณ, อ.
  31. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  32. สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
  33. กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
  34. กุตูหลสาลา : อิต. ศาลาพักผ่อน, โรงหย่อนใจ, ศาลาสาธารณะ
  35. โกตุหล โกตูหล โกตูหฬ : (วิ.) แตกตื่น, ตื่นข่าว, เอิกเกริก.
  36. โกตูหลสาลา : (อิต.) ศาลาสาธารณะ.
  37. โกตูหล, - หฬ : นป. ความอึกทึก, ความครึกโครม
  38. เทหนี, - หลี : อิต. ธรณีประตู
  39. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  40. นูน : อ. แน่
  41. สีหล : ป. ชาวสิงหฬ
  42. อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
  43. อทูหล : (นปุ.) ฟ้าทับเหว.
  44. อนีนาสุหล : (วิ.) สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันพระองค์.
  45. อล (หล) : ๑. อ. พอ, เพียงพอ, หยุด, อย่าเลย ; ๒. ค. สามารถ, ควร, แน่นอน, เหลือคณนา, นับไม่ได้
  46. หลาหล : (วิ.) กล้าและกล้า, แข็งเท่าแข็., ร้ายเท่าร้าย, ร้ายกาจ. หนฺ หึสายํ, อ, นสฺส โล. หล+หล ทีฆะในท่ามกลาง.
  47. กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
  48. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  49. กูฏงฺค : นป. บ่า, ไหล่, จะงอยบ่า
  50. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  51. [1-50] | 51-73

(0.0593 sec)